space
space
space
<<
ธันวาคม 2564
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728293031 
space
space
3 ธันวาคม 2564
space
space
space

อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) ชิ้นส่วนสำคัญที่ทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศมีกลไกลและบทบาทอะไรบ้าง

อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) ชิ้นส่วนสำคัญที่ทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศมีกลไกลและบทบาทอะไรบ้าง

ถ้าหากให้พูดถึงอุปกรณ์ดับความร้อนในร่างกายของคนเราหลังจากกลับจากบ้านในสภาพเปียกชุ่มเหงื่อนั้นก็คงขาดเครื่องปรับอากาศที่เพิ่มความเย็นสดชื่นให้กับห้องในบ้าน อุปกรณ์ชิ้นนี้มีติดตัวตามทุกๆบ้าน ห้าง หรือ โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ เพราะอุณหภูมิที่เพิ่มความเย็นในห้องขาดจะไม่ได้ถ้าหากไม่มีตัว อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) หรือ คอยล์เย็น เป็นอะไหล่ส่วนสำคัญในเครื่องปรับอากาศ แล้วอีวาพอเรเตอร์มีกลไกลและบทบาทอะไรบ้าง ทางบทความนี้จะมาอธิบายให้ครบทุกวงจร

 

อีวาพอเรเตอร์ (Evaporator) / คอยล์เย็น คืออะไร?

อีวาพอเรเตอร์หรือ cooling coil คือ ส่วนอะไหล่ของเครื่องปรับอากาศที่ทำคอยผลิตระบบความเย็นให้กับรอบๆทั่วห้อง โดยหลักการทำงานของเครื่องความเย็นคือการเลี้ยงน้ำยาของเครื่องปรับอากาศแปลงสถานะจากของเหลวเป็นรูปแบบแก๊สโดยใช้ความร้อนแฝงภายในตัวอีวาพอเรเตอร์

 

อีวาพอเรเตอร์ มีความสำคัญอย่างไร หน้าที่หลัก มีไว้ทำอะไร?

อีวาพอเรเตอร์ทำหน้าที่หลักๆคือ คอยแปลงน้ำน้ำยาของเครื่องปรับอากาศให้เปลี่ยนรูปแบบเป็นละอองแก๊สเย็นออกมาจากตัวเครื่อง เพื่อกระจายความเย็นไปทั่วห้องและยังคอยปรับปริมาณของน้ำยาเครื่องปรับอากาศให้ระเหยระดับความดันในตัวอีวาพอเรเตอร์ให้สมดุลกัน อีกทั้งอีวาพอเรเตอร์คอยเก็บเกี่ยวอุณหภูมิความร้อนภายในห้องอีกด้วย

 

อะไหล่อีวาพอเรเตอร์อยู่ส่วนไหนของเครื่องปรับอากาศกันนะ? (Evaporator)

โดยตัวอะไหล่ของอีวาพอเรเตอร์นั้นถูกจัดวางตำแหน่งหลังสุดของเครื่องปรับอากาศ โดยสายเชื่อมต่อการทำงานของอะไหล่อีวาพอเรเตอร์จะลิ้งค์กับตัวอะไหล่ระบายความร้อนของของเหลวอย่างคอมเพรสเซอร์(Compressor) ตัวถัดไปเป็นท่อนำคุมปริมมาณของเหลวเอ็กเพนชั่นวาล์ว(Expansion Valve)ที่อยู่ข้างหน้าก่อนอีวาพอเรเตอร์

 

การใช้งานโดยทั่วไปของตัวอะไหล่ Evaporator (อีวาพอเรเตอร์)ที่ถูกนำไปใช้งานในด้านไหน

การทำงานทั่วไปของตัวอีวาพอเรเตอร์นั้น จะถูกนิยมใช้ในงานรูปแบบอุตสาหกรรมหลายแผนก โดยเฉพาะการผลิตภัณฑ์เป็นจำนวนมากยกตัวอย่างเช่น
 

วัตถุดิบสำหรับปรุงอาหาร ที่กระบวนการแปรรูปล้วนทำมาจากการระเหยทั้หงหมดได้แก่ มะเขือเทศเพียวเร่ น้ำนม สารสกัดจากสมุนไพร เจลาติน น้ำมะพร้าว และเวย์โปรตีนจากตัวนมอีกที
 

วัตถุดิบสำหรับอาหารและยา อย่างผลิตภัณฑ์สำหรับยาเช่น สารประกอบพลาสมา(plasma) ยาเม็ดจำนวนมาก(bulk drugs) กลูโคส(glucose) ฟรุกโตส(fructose) และเดกซ์โทรส(dextrose) ส่วนผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็นอาหาร อย่างสารสกัดจากเม็ดกาแฟ น้ำผลไม้ น้ำหวาน ผลิตภัณฑ์อาหารประเภทการหมักชนิดต่างอย่าง ผลไม้หมัก อาหารหมักจากน้ำนม อย่าง นมเปรี้ยว(fermented milk) โยเกิร์ต(yogurt)
 

วัตถุดิบสำหรับการทำสารเคมี กลีเซอรีน(glycerin) โซเดียมไนเตรด(sodium nitrate) แอมโนเนียมไนเตรต(ammonium nitrate) และสีย้อมประเภทต่างๆ สารสีย้อมผม(hair dye) สีสำหรับงานภาพ(pigments)



 

อีวาพอเรเตอร์ แยกออกเป็นมีกี่รูปแบบชนิด

โดยประเภทของอีวาพอเรเตอร์ ถูกแแบ่งออกเป็น 2 ชนิดหลักๆ ได้แก่ อีวาพอเรเตอร์รูปแบบแห้ง(dry evaporator) และ อีวาพอเรเตอร์รูปแบบเเปียก(Flooded evaporator)
 

1. อีวาพอเรเตอร์แบบแห้ง ( Direct Expansion Evaporator )

อีวาพอเรเตอร์แบบแห้งจะเลี้ยงน้ำยาเครื่องปรับอากาศปรับเปลี่ยนสภาพเป็นละอองแก๊สให้ไหลเวียนผ่านไปในส่วนคอยส์(coil)ก่อนเข้าถึงอะไหล่คอมเพรชเซอร์(compressor)ที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนน้ำยา อีวาพอเรเตอร์รูปแบบนี้จะให้ประสิทธิภาพความเย็นต่ำกว่าอีวาพอเรเตอร์แบบเปียก แต่การใช้งานของอุปกรณ์นี้ใช้องค์ประกอบอะไหล่น้อยทำให้ไม่กินน้ำยาหล่อเลี้ยงมาก และมีราคาถูกเหมาะสำหรับใช้เป็นเครื่องปรับอากาศติดตามบ้านในห้องทั่วๆไป

1.1 อีวาพอเรเตอร์แบบขดท่อและครีบ ( Finned-Tube Coil Evaporator )

อีวาพอเรเตอร์แบบครีบมีรูปทรงแบบท่อเปลือย โดยท่อทรงนี้จะครีบคอยระบายความร้อนแฝงส่งผ่านท่อไปในห้องเก็บน้ำยาให้ช่วยกระตุ้นไหลเวียนเปลี่ยนสภาพเป็นแก๊สง่ายขึ้น อีวาพอเรเตอร์ชนิดนี้สามารถทำงานภายใต้อุณหภูมิที่สูงกว่า 34 เซลเซียสขึ้นไป แต่หากจะใช้งานที่อุณหภูมิที่ต่ำกว่ากำหนดนั้น จำเป็นต้องมีอะไหล่ระบบละลายน้ำแข็ง(defrosting)แบบอัติโนมัติ เพื่อป้องกันเกร็ดน้ำแข็งเกาะตามท่อในการคุมอุณหภูมิของตัวคอยล์ไว้

1.2 อีวาพอเรเตอร์แบบเพลต ( Plate Evaporator )

อีวาพอเรเตอร์แบบแผ่นสี่เหลี่ยมที่ทำมาจากทองแดงหรืออะลูมิเนียมที่มีลักษระไร้ครีบ แต่เป็นอะไหล่ชนิดที่นิยมมาเป็นส่วนประกอบของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่อย่าง ตู้เย็น และ เครื่องทำน้ำแข็ง

1.3 เครื่องระเหยชนิดเปลือกและท่อ ( Shell and Tube Evaporator )

อีวาพอเรเตอร์แบบท่อทรงกระบอกขนาดใหญ่ที่คอยทำหน้าที่คอยนำความเย็นให้กับตัวน้ำยา เครื่องระเหยชนิดนี้ถูกพบได้จากอีวาพอเรเตอร์แบบเปียกและแบบแห้ง
 

2. อีวาพอเรเตอร์แบบเปียก ( Flooded Evaporator )

อีวาพอเรเตอร์แบบเปียกจะมีน้ำยาหล่อเลี้ยงในท่ออะไหล่ชนิดนี้ตลอดเวลา เมื่อถึงเวลาที่น้ำยาถูกความร้อนแฝงของอีวารเตอร์แบบแห้งกระตุ้นเข้า ตัวน้ำยาจะเคลื่อนที่ไปอยู่บนแอกคิวมูเลเตอร์(accumulator)เป็นตัวอะไหล่ที่คอยกีดกั้นกันน้ำยาเครื่องปรับอากาศย้อนไหลกลับ แต่ด้วยที่เครื่องอีวาพอเรเตอร์ชนิดนี้กระตุ้นความร้อนของน้ำยาได้ดี แต่ด้วยอุปกรณ์ชนิดนี้มีขนาดใหญ่ทำให้กินตัวน้ำยาไปในปริมาณมาก

 

แล้วอีวาพอเรเตอร์ กับ คอนเดนเซอร์ มีกระบวนการทำความเย็นที่แตกต่างกันอย่างไร

โดยอะไหล่สองตัวนี้จะเป็นระบบความเย็นเหมือนกันแต่หน้าที่ในการทำงานสองตัวนี้แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดโดย อีวาพอเรเตอร์จะทำหน้าที่ดึงอุณภูมิความร้อนรอบๆตัวเข้ามาในน้ำเครื่องปรับอากาศมาเป็นละอองแก๊สความเย็น ส่วนคอนเดนเซอร์จะเป็นตัวระบายความร้อนภายในของเครื่องสู่ให้สารระบายความเย็นอุณหภูมิเย็น จากนั้นจะแปลงสถานะสารให้ความเย็นจากแก๊สเป็นของเหลว

 

จะติดตั้งอีวาพอเรเตอร์ทีลองเรียกใช้บริการกับ2pt3qสิ

หากจะมองหาช่างวิศวกรที่เชี่ยวชาญการติดตั้งเครื่องปรับอากาศโดยเฉพาะแล้วล่ะก็ ลองเลือกใช้บริการของ2pt3qทีสิ โดยช่างของบริษัทนี้มีความชำนาญในการประกอบตัวอะไหล่ต่างๆจของตัวเครื่องปรับอากาศ อีกทั้งรับแลกเปลี่ยนระบบทำความเย็นอย่างอีวาพอเรเตอร์ คอนเดนเซอร์ และคอมเพคเซอร์อีกเช่นกัน




Create Date : 03 ธันวาคม 2564
Last Update : 3 ธันวาคม 2564 12:36:31 น. 0 comments
Counter : 2203 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
space

สมาชิกหมายเลข 2088455
Location :


[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]






space
space
[Add สมาชิกหมายเลข 2088455's blog to your web]
space
space
space
space
space