แหล่งวิจัยโซล่าเซลล์ เซลล์แสงอาทิตย์ 4 ชนิด ทับสะแก


บทความนี้ขอนำเสนอข่าวสารวงการโซล่าเซลล์ ซึ่งเป็นพลังงาสะอาดที่บูมมากในยุคนี้ เรียกได้ว่ามีผู้ใช้งานกันเป็นทางเลือกอย่างมากมา โดยเฉพาะภาคเกษตรซึ่งทำสวนทำไร โซล่าเซลล์มีประโยชน์อย่างมากมาย อาทิโซล่าปั้มพ์ โซล่าเซลล์ส่องสว่าง ฯลฯ

พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานจากธรรมชาติที่เราสามารถนำมาใช้ได้อย่างไม่มีวันหมดการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)จึงมุ่งมั่นศึกษาวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อนำมาใช้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแกพลังงานสะอาดจากธรรมชาติ 

กฟผ.ได้พัฒนาการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 ในระยะแรกนำมาใช้งานที่แหลมพรหมเทพจังหวัดภูเก็ตกำลังผลิตประมาณ10 กิโลวัตต์ และสถานีพลังงานแสงอาทิตย์สันกำแพงจังหวัดเชียงใหม่จากนั้นพัฒนาให้มีกำลังผลิตมากขึ้นที่โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ผาบ่องจังหวัดแม่ฮ่องสอนโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธรจังหวัดอุบลราชธานีและศึกษาพัฒนารูปแบบใหม่อย่างต่อเนื่องเป็นแผงโซลาร์เซลล์ลอยน้ำที่เขื่อนศรีนครินทร์จังหวัดกาญจนบุรี 

ล่าสุดเมื่อวันที่15พฤษภาคมที่ผ่านมา กฟผ.ได้มีพิธีเปิดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแกบนพื้นที่ 600 ไร่ ของตำบลนาหูกวางอำเภอทับสะแกจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ซึ่งได้เริ่มเดินเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2559 โรงไฟฟ้าแห่งเดียวของไทยที่ติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ถึง 4 ชนิดในพื้นที่เดียวกันโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแกขนาดกำลังผลิตรวม 5 เมกะวัตต์ โดยใช้เซลล์แสงอาทิตย์หรือโซลาร์เซลล์ที่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำประเภทซิลิคอนถึง 4ชนิด เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้งานจริงได้แก่

1.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกซิลิคอน(CrystallineSilicon)กำลังผลิต 1เมกะวัตต์โดยนำระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบถ่วงน้ำหนักด้วยน้ำมาติดตั้งด้วยเพื่อให้แผงโซลาร์เซลล์สามารถหมุนตามดวงอาทิตย์ได้โดยอัตโนมัติเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าให้มากขึ้นพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานจากธรรมชาติที่เราสามารถนำมาใช้ได้อย่างไม่มีวันหมดการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)จึงมุ่งมั่นศึกษาวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อนำมาใช้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแกพลังงานสะอาดจากธรรมชาติ 

กฟผ.ได้พัฒนาการนำพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีพ.ศ.2521ในระยะแรกนำมาใช้งานที่แหลมพรหมเทพจังหวัดภูเก็ตกำลังผลิตประมาณ 10 กิโลวัตต์และสถานีพลังงานแสงอาทิตย์สันกำแพงจังหวัดเชียงใหม่จากนั้นพัฒนาให้มีกำลังผลิตมากขึ้นที่โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ผาบ่องจังหวัดแม่ฮ่องสอนโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธรจังหวัดอุบลราชธานีและศึกษาพัฒนารูปแบบใหม่อย่างต่อเนื่องเป็นแผงโซลาร์เซลล์ลอยน้ำที่เขื่อนศรีนครินทร์จังหวัดกาญจนบุรี

ล่าสุดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคมที่ผ่านมา กฟผ.ได้มีพิธีเปิดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแกบนพื้นที่ 600 ไร่ของตำบลนาหูกวางอำเภอทับสะแกจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ซึ่งได้เริ่มเดินเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่วันที่1 ธันวาคม 2559 โรงไฟฟ้าแห่งเดียวของไทยที่ติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ถึง 4 ชนิดในพื้นที่เดียวกัน

โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทับสะแกขนาดกำลังผลิตรวม 5 เมกะวัตต์โดยใช้เซลล์แสงอาทิตย์หรือโซลาร์เซลล์ที่ผลิตจากสารกึ่งตัวนำประเภทซิลิคอนถึง 4 ชนิด เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้งานจริง ได้แก่

1.เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกซิลิคอน(CrystallineSilicon) กำลังผลิต1เมกะวัตต์โดยนำระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบถ่วงน้ำหนักด้วยน้ำมาติดตั้งด้วยเพื่อให้แผงโซลาร์เซลล์สามารถหมุนตามดวงอาทิตย์ได้โดยอัตโนมัติเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าให้มากขึ้น

2. เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดอะมอร์ฟัส ซิลิคอน (Amorphous Silicon) กำลังผลิต 2 เมกะวัตต์ ใช้การติดตั้งแบบคงที่ ไม่สามารถหมุนตามดวงอาทิตย์ได้

3. เซลล์แสงอาทิตย์ชนิด ไมโครครอสตอลไลน์อะมอร์ฟัสซิลิคอน (Micro Crystalline Amorphous Silicon) กำลังผลิต 1 เมกะวัตต์ใช้การติดตั้งแบบคงที่

4. เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสารประกอบของคอปเปอร์อินเดียมแกลเลียมไดเซเลไนด์ CI(GS)S (Copper Indium gallium Di-Selenide) กำลังผลิต 1 เมกะวัตต์ใช้การติดตั้งแบบคงที่

กฟผ. จะเปรียบเทียบประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์แต่ละชนิด ว่าชนิดใดมีความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ริมชายฝั่งทะเล ที่มีภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยและฝนตกชุกตลอดทั้งปี เพื่อนำข้อมูลและพัฒนาต่อยอดเป็นต้นแบบที่เหมาะสม สำหรับพื้นที่ภาคใต้และริมชายฝั่งทะเล ทั่วประเทศต่อไป

ที่มา. ไทยรัฐ
นำเสนอโดย.//xn--72cfca6iesba7dtdwb4jdw2a8en1e.com



Create Date : 30 มิถุนายน 2560
Last Update : 30 มิถุนายน 2560 10:12:29 น.
Counter : 1187 Pageviews.

0 comments
ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
 *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

pyopyo2524
Location :
  

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]



มิถุนายน 2560

 
 
 
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29