Ortho knowledge for all @ Do no harm patient and myself @ สุขภาพดี ไม่มีขาย ถ้าอยากได้ ต้องสร้างเอง

วิธีเดินด้วย ไม้ค้ำยัน ( Crutches )

คำชี้แจง

1. เป็นเพียง คำแนะนำเบื้องต้น คำแนะนำทั่วไป เท่านั้น ... ซึ่งอาจไม่เหมาะสำหรับผู้ป่วยทุกคน จึงควรปรึกษาแพทย์ที่รักษาอยู่ว่า จะทำท่าไหนได้บ้าง ควรทำหรือไม่ ฯลฯ

2. เป็นภาพจากเอกสารที่ผมทำไว้แจกผู้ป่วยที่คลินิก ( ฟรี ) ... ซึ่ง ผมนำภาพประกอบมาจากอินเทอร์เนต จึงไม่สงวนลิขสิทธิ์ ที่จะนำไปใช้เพื่อประโยชน์ต่อไป


3. ลิงค์ดาวน์โหลด ..วิธีบริหาร วิธีใช้ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน วอค์เกอร์  .. ที่ผมนำมาลงในบล๊อก และ ทำเป็นเอกสารไว้แจกผู้ป่วย ..

ผมทำเป็น pdf file จะได้สะดวกถ้าจะนำไปใช้ นะครับ

https://www.mediafire.com/?uav4vq0mtsf24iv





ไม้ค้ำยัน ( Crutches )






การลงน้ำหนัก มีความสำคัญต่อการฝึกเดินในผู้ป่วยกระดูกหัก แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ

  • Non weight bearing ไม่ลงน้ำหนักเลย 0%
  • Toe touch weight bearing ลงน้ำหนักไม่เกิน 20 % ของน้ำหนักตัว
  • Partial weight bearing ลงน้ำหนัก 20-50 % ของน้ำหนักตัว
  • Weight bearing as tolerate ลงน้ำหนัก 50-100 % ของน้ำหนักตัว
  • Full weight bearing ลงน้ำหนักไม่เกิน 100 % ของน้ำหนักตัว

    ปล.  ใช้ขาข้างที่เจ็บ ลองเหยียบบนตาชั่ง ตามน้ำหนักที่กำหนด แล้วจำความรู้สึกนั้นไว้ตอนเดิน

    ที่มา https://meded.psu.ac.th/binlaApp/class05/388_571_2/Walking_aids/index.html



Create Date : 18 พฤษภาคม 2551
Last Update : 9 กันยายน 2563 21:16:38 น. 1 comments
Counter : 37780 Pageviews.  

 
เข้ามาอ่านครับคุณหมอ แต่ยังไม่ต้องใช้ขาที่สาม


โดย: yyswim วันที่: 26 กรกฎาคม 2556 เวลา:15:01:57 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

หมอหมู
Location :
กำแพงเพชร Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ให้ทิปเจ้าของ Blog [?]
ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 762 คน [?]




ผมเป็น ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ หรือ อาจเรียกว่า หมอกระดูกและข้อ หมอกระดูก หมอข้อ หมอออร์โธ หมอผ่าตัดกระดูก ฯลฯ สะดวกจะเรียกแบบไหน ก็ได้ครับ

ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ซึ่งเมื่อเรียนจบแพทย์ทั่วไป 6 ปี ( เรียกว่า แพทย์ทั่วไป ) แล้ว ก็ต้องเรียนต่อเฉพาะทาง ออร์โธปิดิกส์ อีก 4 ปี เมื่อสอบผ่านแล้วจึงจะถือว่าเป็น แพทย์ออร์โธปิดิกส์ โดยสมบูรณ์ ( รวมเวลาเรียนก็ ๑๐ ปี นานเหมือนกันนะครับ )

หน้าที่ของหมอกระดูกและข้อ จะเกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วย ของ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก ข้อ และ เส้นประสาท โรคที่พบได้บ่อย ๆ เช่น กระดูกหัก ข้อเคล็ด กล้ามเนื้อฉีกขาด กระดูกสันหลังเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม กระดูกพรุน เป็นต้น

สำหรับกระดูกก็จะเกี่ยวข้องกับกระดูกต้นคอ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน กระดูกข้อไหล่ จนถึงปลายนิ้วมือ กระดูกข้อสะโพกจนถึงปลายนิ้วเท้า ( ถ้าเป็นกระดูกศีรษะ กระดูกหน้า และ กระดูกทรวงอก จะเป็นหน้าที่ของศัลยแพทย์ทั่วไป )

นอกจากรักษาด้วยการให้คำแนะนำ และ ยา แล้วยังรักษาด้วย วิธีผ่าตัด รวมไปถึง การทำกายภาพบำบัด บริหารกล้ามเนื้อ อีกด้วย นะครับ

ตอนนี้ผม ลาออกจากราชการ มาเปิด คลินิกส่วนตัว อยู่ที่ จังหวัดกำแพงเพชร .. ใช้เวลาว่าง มาเป็นหมอทางเนต ตอบปัญหาสุขภาพ และ เขียนบทความลงเวบ บ้าง ถ้ามีอะไรที่อยากจะแนะนำ หรือ อยากจะปรึกษา สอบถาม ก็ยินดี ครับ

นพ. พนมกร ดิษฐสุวรรณ์ ( หมอหมู )

ปล.

ถ้าอยากจะถามปัญหาสุขภาพ แนะนำตั้งกระทู้ถามที่ .. เวบไทยคลินิก ... ห้องสวนลุม พันทิบ ... เวบราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์ หรือ ทางอีเมล์ ... phanomgon@yahoo.com

ไม่แนะนำ ให้ถามที่หน้าบล๊อก เพราะอาจไม่เห็น นะครับ ..




New Comments
[Add หมอหมู's blog to your web]