ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม..............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.......ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม..........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม...........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม..........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม..........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม..........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม...........ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม.................ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพเวียดนาม..............เพลงเวียดนาม.............ภาพถ่ายเวียดนาม...............ภาพเที่ยวเวียดนาม................ภาพถ่ายเวียดนาม
Group Blog
 
<<
กุมภาพันธ์ 2549
 1234
567891011
12131415161718
19202122232425
262728 
 
19 กุมภาพันธ์ 2549
 
All Blogs
 
เที่ยวต่อเชียงใหม่....วัดอุโมงค์...กับงานจิตรกรรมล้านนา

ชุดนี้ขอเจาะลึกเรื่องราวของวัดอุโมงค์และงานจิตรกรรมล้านนาอายุ ๕๐๐ ปี..ข้อมูลส่วนใหญ่ต้องขออนุญาตนำข้อมูลจากเวปไวด์ที่จัดทำโดยกลุ่มน้ำแต้ม //www.umongpainting.com นะครับเพราะที่นี่ ถือว่าเป้นเวปที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัดอุโมงค์ที่สมบูรณ์ที่สุด....ตอนนี้ปรับปรุงเพิ่มรายละเอียดข้อมูลใหม่ๆ ลงไปอีก ที่ //www.umongpainting.com/umongpainting/index.php?option=com_content&task=view&id=68&Itemid=26 ลองแวะไปชมกันนะครับ..

เริ่มนะครับ....
วัดอุโมงค์ ตั้งอยู่ที่ถนนสุเทพ ในตัวเมืองเชียงใหม่ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้ามังรายเมื่อราวปี
พ.ศ. 1839 และได้บูรณะเพิ่มเติมในสมัยพระเจ้ากือนา เป็นวัดที่มีอาณาเขตกว้างขวาง มีโบราณสถาน
ที่สำคัญ คือ สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่เป็นแนวยาวคล้ายกำแพง ภายในเป็นอุโมงค์ทางเดินหลายช่อง
เดินทะลุกันได้ ด้านบนกำแพงมีเจดีย์ก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่ ปัจจุบันปรับปรุงบริเวณเป็น
สวนพุทธธรรม ร่มรื่นด้วยแมกไม้นานาพันธุ์
Image hosting by Photobucket


Create Date : 19 กุมภาพันธ์ 2549
Last Update : 26 มกราคม 2551 9:27:25 น. 37 comments
Counter : 1206 Pageviews.

 
เชิงบันได ก่อนขึ้นถึงองค์เจดีย์ เป็นรูปนาค หลายเศียร ซึ่งถูกสร้างมากว่า ๕๐ ปี ถัดจากหัวบันไดนี้ไปอยู่ข้างๆ ก็มีเชิงบันไดเก่าเหลือแต่เศียรพญานาค ซึ่งอายุกว่า๓๐๐ปี แต่ไม่ได้ถ่ายมาเสียนี่..

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:03:08 น.  

 
วัดอุโมงค์ ตั้งอยู่บริเวณที่ลาดเชิงเขา ทางทิศตะวันออกของดอยสุเทพ มีความสูงประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง แวดล้อมไปด้วยต้นไม้ใหญ่นานาชนิด มีลำห้วยอุโมงค์ ธารน้ำที่ไหลมาจากดอยสุเทพ ไหลไปทางทิศตะวันออก

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:05:03 น.  

 
หากพิจารณาจากลักษณะทางภูมิประเทศแล้วจะพบว่า แต่เดิมลำห้วยอุโมงค์เคยเป็นร่องน้ำธรรมชาติเมื่อไหลรวมกับลำน้ำอื่นๆแล้ว จะไหลไปบรรจบกับแม่น้ำปิง แต่ปัจจุบันถูกตัดขาดด้วยคลองชลประทาน ซึ่งก่อสร้างเมื่อ 30 กว่าปีมานี้เอง

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:06:14 น.  

 
เมื่อมีการสร้างฝายกั้นน้ำขึ้นภายในวัดทำให้กลายเป็นสระน้ำขึ้นมา ต่อมามีคนนิยมมาปล่อยปลา ปล่อยเต่า และสัตว์น้ำอื่นๆ ส่วนบริเวณด้านทิศใต้ของแนวกำแพงวัดมีการตัดถนนและปลูกสร้างบ้านเรือนกีดขวางลำน้ำเดิม ส่งผลให้เกิดน้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมเมื่อกลางปี 2545 กระแสน้ำทำให้กำแพงวัดได้รับความเสียหายเป็นแนวยาว บ้านเรือน หอพัก ที่อยู่ติดกับลำน้ำ ได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:10:05 น.  

 
เจดีย์ทรงระฆัง หรือเจดีย์ทรงกลม คือเจดีย์รูปแบบหนึ่งที่มีลักษณะเด่นคือ มีองค์ระฆังในสัณฐานทรงกลมขนาดใหญ่ตั้งอยู่บนฐานในรูปแบบต่างๆ โดยทั่วไปรูปทรงเจดีย์อาจแบ่งส่วนหลักออกได้ 3 ส่วนคือ ส่วนล่าง ส่วนกลาง และส่วนบน โดยองค์ระฆังมักจะอยู่ในส่วนกลางเสมอ

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:12:53 น.  

 
ช่วงนี้ ถ่ายเจดีย์มาหลายๆมุม อย่าเพิ่งเบื่อนะครับ...

กล่าวอย่างกว้างได้ว่าเจดีย์วัดอุโมงค์ เป็นเจดีย์ทรงระฆังระยะแรกของศิลปะล้านนาที่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 19 ปรับปรุงจากเจดีย์ทรงระฆังแบบหนึ่งในศิลปะพุกาม ครั้นล่วงมาถึงช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ต่อเนื่องกับต้นพุทธศตวรรษถัดมา เจดีย์ทรงนี้คลี่คลายไปโดยมีรูปทรงที่สูงโปร่ง และในช่วงเวลาของพุทธศตวรรษที่ 21 รูปแบบของเจดีย์ทรงระฆังจึงมีการคลี่คลายปรับเปลี่ยนค่อยข้างรวดเร็ว ทั้งนี้เนื่องจากการเกี่ยวข้องกับรูปแบบของเจดีย์ในศิลปะสุโขทัย และสามารถกล่าวในรายละเอียดในฐานะที่เจดีย์องค์นี้เป็นเจดีย์องค์สำคัญยุคต้นๆของพัฒนาการเจดีย์ทรงระฆังในศิลปะล้านนานั้น ตามตำนานปัญหาเถรจันทร์ กล่าวว่า..............

ตามอ่านรายละเอียดแบบลึกที่นี่ครับ..//www.umongpainting.com/modules.php?name=News&file=article&sid=36

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:15:38 น.  

 
รายด้านบนเป็น รูปเทวดาแบก และที่เห็นตรงมุมคือ ราหู

ดูภาพนี้อีกที ชัดๆ

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:17:48 น.  

 
จิตรกรรมฝาผนังนี้ ตัวอุโมงค์ตั้งอยู่ทางทิศเหนือในบริเวณต่อเนื่องกับเจดีย์ในแนวแกนเดียวกัน อุโมงค์ตามสภาพที่ปรากฏแก่สายตาเราในปัจจุบันนั้น เป็นอุโมงค์ที่สร้างขึ้นด้วยเทคนิคก่ออิฐถือปูน, ฉาบปูนปิดทับโครงสร้างอิฐอีกชั้นหนึ่ง แต่ปัจจุบันชั้นปูนฉาบนี้ได้หลุดกะเทาะเกือบหมดสิ้นแล้ว จะเหลือก็เพียงส่วนของเพดานโค้งภายในอุโมงค์ที่ปรากฏจิตรกรรมฝาผนังเท่านั้น ส่วนบริเวณด้านนอกเกือบทั้งหมดนั้นไม่ปรากฏชั้นของปูนฉาบแล้ว เหลือเพียงอิฐก่อผนัง และอิฐก่อโครงสร้างอุโมงค์เท่านั้น
เมื่อพิจารณาอุโมงค์ตามสภาพปัจจุบัน จึงเกิดปริศนาขึ้นว่า ที่ว่างระหว่างอุโมงค์ในแต่ละช่องนั้น มีอะไรอยู่ภายในที่ว่างแต่ละช่องของอุโมงค์หรือไม่ มีห้องลับหรือช่องทางใดๆซ่อนอยู่อีกหรือไม่ และยังมีอุโมงค์อื่นใดนอกเหนือจากที่ปรากฏปัจจุบันอีกหรือไม่ คำถามเหล่านี้นับว่าเป็นปริศนาที่ไม่มีใครทราบคำตอบแน่ชัดมาก่อน
ความลับดังกล่าวได้คลี่คลายลงเมื่อ พ.ศ.2546

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:22:08 น.  

 
ลักษณะการเชื่อมโยงระหว่าง ตัวเจดีย์และอุโมงค์ เป็นอย่างนี้ ชวนให้สงสัยว่า เขาสร้างอุโมงค์กันอย่างไร ที่นี่มีคำตอบครับ..//www.umongpainting.com/modules.php?name=News&file=article&sid=33

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:29:59 น.  

 
ทางเดินภายในอุโมงค์ ซึ่งได้รับการบูรณะ ติดหลอดไฟแสงสว่าง...จากเดิมจะใช้แสงสว่างจากช่องเจาะข้างผนัง

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:34:53 น.  

 
จากภาพด้านบน จะเห้นว่าอุโมงค์มีรอยแตกจาการกัดเซาะของน้ำที่ซึมลงมา ทำให้เกิดคราบหินปูนและตะไคร่ ปิดทับภาพจิตรกรรมล้านนา....จึงมีผู้ที่เล็งเห้นความสำคัญจัดตั้งกลุ่ม น้ำแต้ม เพื่อต้องการอนุรักษ์ภาพศิลปล้านนานี้ไว้ ...เขาจะทำอย่างไร?

....ตรงนี้มี " นก " นะ

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:39:09 น.  

 
จิตรกรรมฝาผนังวัดอุโมงค์ในส่วนที่เหลือหลักฐานให้ชมในปัจจุบันอยู่บริเวณเพดานโค้งภายในอุโมงค์ ตัวอุโมงค์ตั้งอยู่บริเวณต่อเนื่องกับเจดีย์ทางทิศเหนือ โดยหันทางเข้าหลักไปยังทิศตะวันออกจำนวน 3 อุโมงค์ในด้านหน้า ซึ่งอุโมงค์กลาง (อุโมงค์ที่ 4) มีขนาดใหญ่ที่สุด
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันปรากฏจิตรกรรมฝาผนังให้สังเกตเห็นได้ เพียง 3 อุโมงค์เท่านั้น คือ อุโมงค์ที่ 1, 2, และ 3 ตั้งข้อสังเกตได้ว่าแต่เดิมนั้นคงมีภาพจิตรกรรมฝาผนังประดับตกแต่งอยู่ในทุกอุโมงค์ เพียงแต่ว่าปัจจุบันได้ชำรุดหมดเหลือหลักฐานเพียง 3 อุโมงค์เท่านั้น
ปัจจุบันแม้ว่าจิตรกรรมฝาผนังวัดอุโมงค์จะอยู่ในสภาพลบเลือนมาก แต่การคัดลอกจิตรกรรมเหล่านั้น ทั้งโดยการคัดลอกลายเส้น และการคัดลอกเป็นภาพสี โดยเทคนิคการเขียนด้วยมือและการใช้คอมพิวเตอร์เข้าช่วยในการทำงานคัดลอกจิตรรรม ทำให้เห็นภาพจิตรกรรมฝาผนังอันเก่าแก่ของศิลปะล้านนาที่มีอายุกว่า 500 ปีได้ชัดเจนอีกครั้ง

นี่แหละ " นก "
Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:42:23 น.  

 
วิธีที่จะกู้ภาพ อายุ๕๐๐ ปี ขึ้นมา ปัจจุบัน นอกจากจะใช้การคัดลายด้วยมือ เรายังสามารถนำเทคโนโยลี เข้ามาช่วย โดยการ " ใช้ภาพถ่ายอินฟาเรด " เขาทำกันอย่างไร ติดตามที่นี่ครับ //www.umongpainting.com/modules.php?name=News&file=article&sid=90

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:46:46 น.  

 
นอกจากนี้ บางช่วงมีหินปูนเกาะอยู่มาก " มีดผ่าตัด และขบวนการทางเคมี.".ก็ประยุกต์นำเข้ามาใช้ เพื่อกู้ภาพอายุ๕๐๐ปีกลับคืนมา

//www.umongpainting.com/modules.php?name=News&file=article&sid=61

ในอุโมงค์ที่ ๔ มีองค์พระให้สักการะครับ

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:51:03 น.  

 
......

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:52:00 น.  

 
Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:52:49 น.  

 
ช่องวางเชิงเทียน แสงสว่าง ที่วัดอุโมงค์นี้ ..เป้นวัดสวนป่าเพื่อนั่งวิปัสนา ตามแนวท่าน พุทธทาส เช่นเดียวกันที่ สวนโมกข์...ทั้งท่านพุทธทาส ก็เคยมาเยือนและนั่งวิปัสนาที่นี่ระยะหนึ่ง

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:55:59 น.  

 
Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:56:47 น.  

 
หลวงพ่อทำวัตร เช้า

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:9:59:26 น.  

 
บริเวณวัดมีสภาพเดิมเป็นป่าผลัดใบ ปัจจุบันหาต้นไม้ใหญ่ได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต้นพะยอม ซึ่งเป็นพืชตระกูลไม้ยาง มีเมล็ดที่มีปีกคู่สีขาวขนาดเล็กราว 2-3 ซม. ออกดอกพร้อมกัน ช่วงเดือนมีนาคม ลำต้นสวยงาม เป็นพันธุ์ไม้ที่เคยมีอยู่มากในแถบนี้มาก่อน ถูกกระแสการทำลายจากการขยายถนนของเทศบาลนครเชียงใหม่เมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมานี้เอง ในย่านวัดอุโมงค์ บริเวณที่เคยมีต้นไม้ใหญ่ กำลังกลายเป็นหอพักที่ผุดขึ้นอยู่รายรอบวัด


Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:10:03:02 น.  

 
บริเวณที่เป็นป่าธรรมชาติ และแหล่งโบราณคดีที่ยังเหลือร่องรอยอยู่มาก ของเมืองเชียงใหม่ที่ใกล้ชุมชนที่สุดแห่งนี้ กำลังอยู่ในกระแสแห่งการทำลายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของคนยุคนี้ แม้ว่าเรามีกฎหมายฝังเมือง และกฎระเบียบของที่ดินในเขตโบราณสถานอยู่ แต่ถ้าหน่วยงานราชการ อบต.สุเทพและคนในพื้นที่ปล่อยปะละเลยแล้ว แหล่งธรรมชาติและโบราณคดีที่มีคุณค่าหลายแห่งก็จะสูญหายไป

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:10:04:58 น.  

 
เราจึงอาจจะเหลือบันทึกเก้บไว้ได้แค่ ภาพถ่ายเท่านั้น.....เฮ้อ...น่าเสียดาย...

ภาพสุดท้ายครับ.....

Image hosting by Photobucket


โดย: ตี๋265 วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:10:06:41 น.  

 
วัดอุโมงค์เป็นวัดที่สงบมากเลยค่ะ อากาศก็เย้นสบาย
น่าไปปฎิบัติธรรมมากๆเลย


โดย: นุทศรี!! วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:12:59:39 น.  

 
เคยแวะไปเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ชอบมากเลยครับ สงบเงียบ ร่มเย็น ไม่น่าเชื่อว่าเป็นวัดในเมืองแท้ๆ หวังว่าจะมีโอกาศได้ไปอีก


โดย: ป้อจาย วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:13:13:53 น.  

 
ยังไม่เคยปเลยค่ะ แต่สวยจริงๆเลยนะค่ะ


โดย: asariss วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:16:28:55 น.  

 
เหนแล้วอยากกลับไปอยู่เชียงใหม่จังเลยค่ะ


โดย: อพันตรี วันที่: 19 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:17:29:12 น.  

 
ดูแล้วนึกถึงถิ่นเก่าครับ อยู่แถวนั้นเลย


โดย: นายเบียร์ วันที่: 20 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:2:02:17 น.  

 
คุณตี๋ทำให้ผมคิดถึงตอนสมัยเรียนเลยครับ
ผมกับกลุ่มเพื่อนๆ ชอบมาอ่านหนังสือเตรียมสอบกันที่วัดอุโมงค์นี่แหล่ะ แล้วก็ให้อาหารปลา เต่า ตะพาบ (ตะพาบที่นี่ตัวใหญ่มากครับ) เจ้าห่านก็ชอบมาแย่งกินขนมปัง เป็นช่วงเวลาที่มีความสุข อดีตไม่มีวันลืม พิมพ์ไปก็น้ำตาคลอเลย....img src=https://www.bloggang.com/emo/emo31.gif>ขอบคุณครับ<


โดย: Noumy วันที่: 21 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:12:44:32 น.  

 
ขอบคุณครับ..หลายท่านน่าจะมาจากเชียงใหม่กันทั้งนั้นเลย...

ภาพของคุณNoumy...ผมดึงมาให้ที่นี่นะ





โดย: ตี๋265 IP: 203.162.3.156 วันที่: 21 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:18:18:18 น.  

 
อยากไปค่ะ ข้าเจ้าเป๋นสาวเจียงใหม่ แหมบ่อเต๊าใด ก่อจะเป็นสาวแล้วว...


โดย: ยายส้มหอม วันที่: 27 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:3:12:29 น.  

 
เป็นภาพที่สวยงามมากม๊าก เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามน่าค้นหา


โดย: Milk IP: 203.113.50.140 วันที่: 22 สิงหาคม 2549 เวลา:19:06:38 น.  

 
สวยมาก


โดย: mark IP: 203.113.50.140 วันที่: 22 สิงหาคม 2549 เวลา:19:08:53 น.  

 
อยากไปเที่ยวจังเลย ถ้าว่างจะแวะเข้าไปดูนะค่ะ





















โดย: Milk IP: 203.113.50.140 วันที่: 22 สิงหาคม 2549 เวลา:19:12:37 น.  

 
อยากทราบ ประวัติ พระรอดที่แตกกรุจากวัดอุโมงค์ครับ
ไม่มีข้อมูลเลยครับ....แต่มีพระรอดอยู่ 1 องค์เป็นของวัดอุโมงค์


โดย: เด็กชลบุรี IP: 124.157.210.29 วันที่: 1 กรกฎาคม 2550 เวลา:19:43:01 น.  

 
วัดอุโมงค์มีประวัติดี


โดย: ดาว IP: 125.24.134.145 วันที่: 28 พฤศจิกายน 2550 เวลา:12:53:09 น.  

 
ประมาณ 25 ปีมาแล้ว เคยอาศัยอยู่ในซอยวัดอุโมงค์
เดี๋ยวนี้ย้ายมาอยู่สมุทรปราการ คิดถึง มาก บ้านอยู่หลังวัดป่าแดง โกฐแม่ก็อยู่ที่วัดป่าแดง มีโอกาศเมื่อไรจะต้องมาเยี่ยมทุกครั้ง คิดถึงมากๆ ถ้าเลือกได้ จะไม่ขายบ้านหลังนั้นแน่ๆ เดี๋ยวนี้ ใกล้เกษียณอายุแล้ว ต่อไปคงมีโอกาสมาบ่อยๆ


โดย: เอี๊ยด IP: 124.120.204.134 วันที่: 21 พฤศจิกายน 2552 เวลา:21:01:00 น.  

 

Iowa Elderly Care.
But people over 65 are actually much more diverse than people in any other age group.[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]Cartier Glasses Frame[/b][/URL] The varied life experiences of those who live a long time probably accounts for much of their individual uniqueness. People also age in different ways. Some people remain healthy and active into their 80s, while others become frail early on, acting more elderly. Even within an individual,[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]glasses frame[/b][/URL] organs age at different speed. For example, onea heart may be strong but their digestive system may be falling apart.
Even in the healthiest people, strength, flexibility and reaction time diminish with age. The decline actually starts when youa?re a young adult but isna?t noticeable until middle age,[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]eye glasses frames[/b][/URL] when knees arena?t what they used to be and onea?s memory isna?t as sharp or complete as before. Forgetfulness can signal a more serious illness, such as depression or Alzheimera?s disease.
But also know the word Dementiaphobia, the irrational fear of becoming a victim of Alzheimera?s disease, can turn every missing pair or reading [URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]cartier eyeglasses[/b][/URL] or misplaced care keys into illogical a?proofa? that the Alzheimera?s disease has taken hold. Reassure your elder that everybody loses things sometimes and that a?senior momentsa? are just a normal part of life.
In the normal healthy older adult who is becoming elderly, the five senses (vision, hearing, smell, taste and touch) tend to decline somewhat with age. A dulling in the perception of pain (the sense of touch) may cause an elderly person to ignore a bedsore, burn, or other injury increasing their risk of serious infection or disability. Thata?s why being aware, but not terrified of growing old, is always the recommendation.
Lots of diseases strike older people more often than younger people. Interestingly,[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]cartier frame[/b][/URL] the same illnesses may produce different symptoms in older people than they produce in younger adults. For example, an under active or overactive thyroid may cause confusion in an elderly patient but not in younger one. When the confusion is mistaken as dementia, the elder may be unnecessarily institutionalized and the underlying illness left untreated.
At one time, heart attacks, kidney problems and diabetes were likely to cause an early death. Now they are often simply considered a chronica illnesses a controlled or treated, but not cured. Managing the medications, disabilities and visits to medical specialists for multiple chronic illnesses can become a huge caregiving task.
So,[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]cartier spectacle frames[/b][/URL] the bottom line is if you feel old a“ youa?re old. If you feel young a“ youa?re young. Nothing is magical about the number 65. But that number has been the widely accepted jumping-off point for a?olda? since 1935, when President Roosevelt signed an act creating an insurance program that paid eligible retirees, age 65 and older,[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]cartier sunglasses[/b][/URL] a continuing income. This is how Social Security began for the elderly, however, the life expectance in the 30a 2s was around 68,[URL=//www.cartiersunglassessale.com][b]cartier watches[/b][/URL] and so the original plan didna?t count on the longer lives people live today!


โดย: sdf IP: 192.168.4.177, 182.149.190.240 วันที่: 1 กันยายน 2554 เวลา:9:19:15 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

ตี๋265
Location :
กรุงเทพ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




ผ่อนคลาย แบบไม่ไร้สาระ จริงใจและรักความยุติธรรม ชอบอ่านหนังสือ และรักการถ่ายภาพ

ภาพถ่ายส่วนใหญ่ที่นำมาฝากเพื่อนๆ จะเป็นภาพที่ได้จากการเดินทางท่องเที่ยวทั้งในเมืองไทย และที่เวียดนาม( ซึ่งปัจจุบัน ผมยังทำงานอยู่) ในส่วน " ภาพถ่ายเวียดนาม " จะใส่ " เพลงเวียดนาม " ไว้ด้วย เมื่อชม ภาพถ่ายเวียดนาม พร้อมฟังเพลงเวียดนามด้วย แล้ว ดูจะได้อารมณ์เต็มอิ่ม ทำให้ต้องเก็บมันไว้เป้นความทรงจำ อีกส่วนถือเป็น ฝึกฝนฝีมือใช้การถ่ายภาพ เป็นงานอดิเรก....นึกถึงเมือไรก็เปิดขึ้นมาดู ความสุขสนุกในวันที่ผ่านมาก็ refresh อีกครั้ง...และ อีกครั้ง และอีกครั้ง...


มาใหม่.... เพลง Vang trang Khoc ที่นี่........... เพลง Vang trang Khoc ที่นี่....

ฟังเพลง กดที่นี่ครับ






Blog Preview




Friends' blogs
[Add ตี๋265's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.