" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
<<
มกราคม 2554
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
3031 
 
8 มกราคม 2554
 
All Blogs
 
025. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





8983. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





8984. จุดจอดรถรางที่ ๗ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
Bus Stop 7 Democracy Monument

รัฐบาลเผด็จการ ทรรราช และ ........ จะไม่ลงจอดที่ป้ายนี้ ?





8958. ถนนราชดำเนิน ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





8986. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตยที่มีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุขเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475






8987. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


อนุสาวรีย์นี้ เริ่มก่อสร้าง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์คือ นายสิทธิเดช แสงหิรัญ มีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2483 โดยจอมพล ป.พิบูลสงคราม กล่าวในในพิธีเปิดอนุสาวรีย์ว่า







8988. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


"อนุสาวรีย์นี้จะเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญก้าวหน้าทั้งมวล
เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมืองก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้"




8989. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


ถนนราชดำเนินซึ่งเป็นแนวของอนุสาวรีย์ ก็กำลังสร้างอาคารให้สง่างามเป็นที่เชิดชูเกียรติของประเทศ และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ที่ทรงตั้งพระราชหฤทัย จะทำให้ถนนนี้เป็นที่เชิดชูยิ่ง

จอมพล ป.พิบูลสงคราม 24 มีนาคม พ.ศ. 2483






8990. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

ความหมาย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นรูปหล่อลอยตัว ประกอบด้วยรูปเล่มรัฐธรรมนูญในสมุดไทย ประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า สร้างด้วยทองแดง มีความสูง 3 เมตร หนัก 4 ตัน ตั้งบนฐานรูปทรงกลมด้านบนโค้งกลม ลานอนุสาวรีย์ยกสูงมีบันไดโดยรอบ รอบนอกลานอนุสาวรีย์มีครีบทรงแบน อยู่ 4 ทิศ ที่โคนครีบ มีภาพแกะสลักลายปั้นนูน และมีรั้วเตี้ย ๆ กั้นโดยรอบลานอนุสาวรีย์ รั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกัน

+ ครีบ 4 ด้าน สูงจากแท่นพื้น 24 เมตร มีรัศมียาว 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 ซึ่งเป็นวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง

+ พานรัฐธรรมนูญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ สูง 3 เมตร หมายถึง เดือน 3 หรือ เดือนมิถุนายน (ขณะนั้นนับเมษายนเป็นเดือนแรกของปี) ตรงกับเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองสมัยนั้น และหมายถึง อำนาจอธิปไตยทั้ง 3 ภายใต้รัฐธรรมนูญ (นิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ)

+ ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) โดยรอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคีพร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ

+ ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

+ พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร





8991. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


หลักกิโลเมตร

ในทางด้านคมนาคม อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยใช้นับเป็นหลักกิโลเมตรที่ 0 ของกรุงเทพมหานคร ควบคู่กับ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ที่เป็นหลักกิโลเมตรที่ 0 ของประเทศไทย


หมายเหตุ Moonfleet
: จะเป็นเพราะว่า อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยใช้นับเป็นหลักกิโลเมตรที่ 0 (ศูนย์) ระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยจึงยังคงอยู่ที่ ศูนย์ เสมอ ?




8992. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

"...รั้วเตี้ย ๆ กั้นโดยรอบลานอนุสาวรีย์ รั้วนี้ใช้ปืนใหญ่โบราณจำนวน 75 กระบอก ฝังดินโผล่ท้ายกระบอกขึ้นมา เป็นเสา คล้องโซ่เชื่อมต่อกัน"

ปืนใหญ่จำนวน 75 กระบอก (ปากกระบอกปืนฝังลงดิน) โดยรอบฐานของอนุสาวรีย์ที่มีโซ่เหล็กร้อยไว้ หมายถึงปีที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (เลข 75 เป็นเลขท้ายสองหลักของปี พ.ศ. 2475) ส่วนโซ่ที่ร้อยไว้ด้วยกันหมายถึงความสามัคคีพร้อมเพรียงของคณะปฏิวัติ






8993. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

หน้ากระทรวงกลาโหม ก็มี ปืนใหญ่โชว์
รอบอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยก็มี ปืนใหญ่โชว์เช่นกัน

การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองจะต้องมี "อาวุธ"เสมอ ?
ถ้าคณะราษฏร์ไม่มี "อาวุธ" มีแต่ "ดอกไม้หรือมือเปล่า" ประวัติศาสตร์ของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 จะมีการจารึกเรื่องราวไว้เป็นอย่างไร ?




8994. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554




8995. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





8996. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475




8997. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475




8998. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument





8999. ไม่มีความรู้ ความเข้าใจในงานศิลปะชิ้นนี้ครับ

เคยเห็นแต่ ตัว "มกรคายนาค"





9000. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

จากภาพนี้ จะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นประชาธิปไตยนั้น จะต้องมีก "กำลังอาวุธ" ด้วยเสมอ

"สงบ สันติ อหิงสา คงมีไว้สำหรับผู้ที่แพ้ หรือ ..... กระมังครับ"





9001. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475




9002. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9003. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9004. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475





9005. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554




9006. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

พระขรรค์ 6 เล่ม ที่รายล้อมรอบป้อมกลางตัวอนุสาวรีย์ หมายถึง หลัก 6 ประการของคณะราษฎร


หลัก 6 ประการสามารถประมวลได้ดังนี้

1.จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในบ้านเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจของประเทศไว้ให้มั่นคง

2.จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก

3.จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจไทย รัฐบาลใหม่ จะพยายามหางานให้ราษฎรทำโดยเต็มความสามารถ จะร่างโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก

4.จะต้องให้ราษฎรได้มีสิทธิเสมอภาคกัน (ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่)

5.จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการ ดังกล่าวแล้วข้างต้น

6.จะต้องให้มีการศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร


ท่านสามารถอ่าน "หลัก 6 ประการของคณะราษฎร" ได้ที่

Click:หลัก 6 ประการของคณะราษฎร จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






9007. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475





9008. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9009. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ดูๆไป คล้ายกับ "อินทรี คาย นาค" อาจจะขยายความโดยความเห็นส่วนตัวได้ว่า "คณะราษฏร์ ได้ให้ รัฐธรรมนูญ แก่ สยามประเทศ"





9010. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9011. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9012. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9013. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475





9014. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554

ลายปั้นนูนที่ฐานครีบทั้ง 4 เน้นถึงเรื่องราวการดำเนินงานของคณะราษฎรตอนที่นัดหมายและแยกย้ายกันก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475





9015.




9016.




9017.




9018.




9019.





9020.





9021.




9022.





9023.





9024.





9025.




9026.





9027.




9028. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9029. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554





9030. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554


-----------------------------------------------------------------------------



Moonfleet ได้มาเยือนอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย : Democracy Monument
ในยามบ่าย วันอาทิตย์ที่ 2 มกราคม พ.ศ.2554






นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ นครแห่งชีวิตและความมั่งคั่ง


Create Date : 08 มกราคม 2554
Last Update : 8 มกราคม 2554 13:34:42 น. 0 comments
Counter : 9152 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.