อ่านหนังสือที่หอสมุดแห่งชาติ


ที่สิงสถิตที่หากเราว่างเมื่อไรก็จะไปเป็นประจำ นั่นก็คือหอสมุดแห่งชาติ ตั้งอยู่แถวท่าวาสุกรี ใกล้ ๆเทเวศน์
ส่วนใหญ่จะไปวันอาทิตย์รถไม่ติด ไปถึงก็จะพบกับบรรยากาศอันร่มรื่นด้วยเหล่าต้นไม้ยืนต้นทนแดดทนฝน มีเก้าอี้ยาวนั่งรับลมเย็นสบาย
ฝูงอีกาบินว่อนไปหมด พอเข้าไปในอาคารก็จะพบกับอากาศเย็นๆจากเครื่องปรับอากาศ

เดี๋ยวนี้ไม่เหมือนเมื่อก่อน มีคอมพิวเตอร์ไว้บริการช่วยสืบค้นเพื่อความสะดวกแต่ถ้าใครไม่ถนัดใช้คอมพิวเตอร์ก็ยังมีบัตรรายการให้บริการด้วย

หนังสือแบ่งเป็นหมวดหมู่ง่ายต่อการใช้งาน ไม่ว่าจะเป็น

-หนังสือพิมพ์ภาษาไทยและต่างประเทศทั้งฉบับปัจจุบันรวมถึงฉบับย้อนหลัง
-เอกสารโบราณ เช่นกระดาษเพลา กระดาษฝรั่ง คัมภีร์ใบลาน เป็นต้น
-งานวิจัยและวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
-รวมไปถึงศิลปวัตถุ เช่นตู้พระธรรม ตู้ลายทอง

และยังมีบริการอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น โสตทัศน์วัสดุ ห้องฟังเพลง ห้องแสดงจัดแสดงประวัติ และผลงานของหลวงวิจิตรวาทการ เป็นต้น

ส่วนใหญ่เราจะไปอยู่อาคาร 1 ซึ่งจะเป็นหนังสือทั่วไป รวมไปถึงนิยาย ที่บางทีหาซื้อไม่ได้แล้ว ชอบกลิ่นหนังสือมันออกเก่า ๆ แต่มีมนต์ขลัง

ที่นี่ไม่อนุญาติให้ยืมหนังสือออกนอกห้องสมุดแต่ภายในห้องก็มีโต๊ะ เก้าอี้ให้นั่งอ่านได้หลายที่นั่ง บรรยากาศเย็นสบาย (จนบางครั้งถึงกับหนาว เราจะเตรียมเสื้อกันหนาวไปด้วยทุกครั้ง เพราะไปทีก็จะอยู่เป็นเวลานาน ๆ ได้ใช้ทุกครั้ง) และเงียบสงบ หากนอนไม่พอไม่แนะนำให้ไป เพราะมันจะหลับมากกว่าได้อ่าน

หรือหากอ่านไม่ทัน หรือต้องการข้อมูลเพื่อประกอบการเรียนรู้สารมารถถ่ายเอกสารได้ มีจุดให้บริการเครื่องถ่ายเอกสารหลายจุดราคาไม่แพง สมราคาค่ะ

การให้บริการของหอสมุด

เปิดให้บ่ริการทุกวัน 9.00-19.30 น.

อาคาร 1
ชั้น 1
-ห้องหนังสือพิมพ์และวารสาร (103) 9.00-19.30 น.
-ห้องบริการค้นข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์และบัตรรายการ (104) 9.00-19.30 น.
ชั้น 2
-ห้องสังคมศาสตร์ ภาษาศาสตร์ (204) 9.00-19.30 น.
-ห้องวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (205) 9.00-19.30 น.
-ห้องทั่วไป ปรัชญา ศาสนา (213) 9.00-19.30 น.
ชั้น 3
- ห้องศิลปะ วรรณคดี ประวัติศาสตร์ (302) 9.00-19.30 น.
-ห้องไทย (303) 9.00-16.30 น. เว้นวันอาทิตย์
-ห้องสมุดอนุมานราชธน (304) 9.00-16.30 น. เว้นวันอาทิตย์
-ห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมบริพัตร (314) 9.00-16.30 น. เว้นวันอาทิตย์
-ห้องโสตทัศนวัสดุสุนทราภรณ์ (316) 9.00-16.30 น. เว้นวันอาทิตย์
-ห้องบริการไมโครฟอร์ม (308) 9.00-16.30 น. เว้นวันเสาร์- อาทิตย์
ชั้น 4
-ห้องบริการหนังสือตัวเขียนและจารึก (402) 9.00-16.30 น. เว้นวันเสาร์- อาทิตย์

อาคาร 2
-หอสมุดวชิรญาณ 9.00-16.30 น. เว้นวันเสาร์- อาทิตย์

อาคาร 3
-ห้องวิทยานิพนธ์และงานวิจัย (3-1) 9.00-19.30 น.
-ห้องสมุดกล้วยไม้ ระพี สาคริก 9.00-16.30 น.

อาคาร 4
-หอวชิราวุธานุสรณ์ 9.00-16.30 น. เว้นวันเสาร์- อาทิตย์

อาคาร 5
-หอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช 9.00-16.30 น. เว้นวันเสาร์- อาทิตย์

อาคาร 6
-ห้องสมุดดนตรีทูลกระหม่อมสิรินธร 9.00-16.30 น. เว้นวันอาทิตย์

เทคโนโลยีเปลี่ยนวิถีชีวิตคนเราให้เปลี่ยนไป เราสามารถหาทุกอย่างได้จากอินเตอร์เนต โดยลืมสถานที่อันทรงคุณค่าที่ให้ความรู้ และคุณค่าทางจิตใจไป



หอวชิราวุธานุสรณ์



อาคารหอสมุดแห่งชาติ (อาคาร 1)



บรรยากาศอันร่มรื่นภายนอกอาคาร



หอเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช



จุดบริการสืบค้นข้อมูล



จุดบริการรับถ่ายเอกสาร



บันไดทางขึ้น-ลง เหมือนบันไดโรงเรียนเลย



ภายนอกห้องหนังสือ



ชั้นหนังสือแน่นขนัด




หากมีเวลาว่างแวะหาความรู้ที่นี่บ้างนะคะ


ขอบคุณเวบ หอสมุดแห่งชาติ สำหรับรายละเอียดค่ะ




Create Date : 25 กรกฎาคม 2549
Last Update : 25 กรกฎาคม 2549 12:55:37 น.
Counter : 3992 Pageviews.

12 comments
  






โดย: อย่ามาทำหน้าเขียวใส่นะยะ วันที่: 25 กรกฎาคม 2549 เวลา:13:18:14 น.
  
บรรยากาศและสถานที่น่าไปจังค่ะดูร่มรื่นย์
คราวนี้ถึงได้รู้แล้วว่าเพื่อนรุ้ง ทำไมชอบไปหอสมุดกับแฟนจัง ที่แท้ก้อไปอ่านหนังสือมุมสบายๆกุ๊กกิ๊กกัน 2คน(วันหลังตามไปด้วยดีกว่า)

ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆค่ะ (อืมอยากรุ้จังว่าทำไมถึงไม่ชอบแตงโมค่ะ เพราะคนส่วนใหญ่จะไม่ชอบทุเรียน)
โดย: about_love วันที่: 25 กรกฎาคม 2549 เวลา:15:01:08 น.
  
อืม...ไม่ได้ไปนานแล้วค่ะ หอสมุดแห่งชาติ

ดูท่าทางเค้าจะปัต-ตะ-นา ขึ้นมากมายก่ายกอง

ขอบคุณค่ะ ที่พาเยี่ยมชม
โดย: สายลมแห่งขุนเขา วันที่: 25 กรกฎาคม 2549 เวลา:20:14:22 น.
  
อย่ามาทำหน้าเขียวใส่นะยะ:สวัสดีจ๊ะ

about_love:แตงโมเนื้อมันจะเละ ๆ เหมือนทราย(ไม่เคยกินทรายนะ) กินแล้วมันติดลิ้นไงไม่รู้

สายลมแห่งขุนเขา:พัฒนาไปไกลเลยค่ะ หาหนังสือก็ง่าย แถมหนังสือยังมีให้เลือกเยอะเลยค่ะ
โดย: กระปุกกลิ้ง (กระปุกกลิ้ง ) วันที่: 26 กรกฎาคม 2549 เวลา:10:48:35 น.
  
โอ...ไม่ได้ไปหอสมุดแห่งชาติแบบว่า...นานจนจำความไม่ได้เลยล่ะค่ะ เคยไปสมัยเรียนหนังสือ ตอนที่ต้องไปหาข้อมูลทำรายงาน แต่ตอนนี้ ไม่ต้องแล้วล่ะค่ะ พูดแล้วก็คิดถึงแฮะ...
โดย: หวัน (หวันยิหวา ) วันที่: 26 กรกฎาคม 2549 เวลา:12:01:46 น.
  
ไม่ได้ไปนานมากๆ แล้วนะคะนี่

ไปตั้งแต่สมัยยังต้องทำวิทยานิพนธ์อยู่น่ะค่ะ




ชอบไปนั่งห้องสมุดธรรมศาสตร์น่ะค่ะ
โดย: สาวไกด์ใจซื่อ วันที่: 26 กรกฎาคม 2549 เวลา:13:36:53 น.
  
หวัน:หากต้องการหาที่เงียบ ๆ อ่านหนังสือ ที่นี่ก็ไม่เลวนะคะ

สาวไกด์ใจซื่อ:จขบ.ว่าหาอสมุดมันมีสเน่ห์ค่ะ กลิ่นหนังสือ กลิ่นไม้ ที่ไหน ๆ ก็น่านั่งเหมือนกันค่ะ
โดย: กระปุกกลิ้ง (กระปุกกลิ้ง ) วันที่: 27 กรกฎาคม 2549 เวลา:10:14:50 น.
  
กะจะไปอยู่เหมือนกัน แต่กัลวหนังสือเยอะจนอ่านไม่ไหว แล้วเสียดาย อิอิ
โดย: nickky IP: 124.121.74.25 วันที่: 30 ธันวาคม 2550 เวลา:10:29:44 น.
  
ถ้าจะขอคัดหนังสือพิมพ์ฉบับที่ผ่านมาแล้วนั้นทำได้หรือไม่
โดย: เด็กน้อย IP: 58.9.192.88 วันที่: 7 มกราคม 2551 เวลา:9:59:17 น.
  
ถ้าเราต้องการหาความหมายของแร่ธาตุต่างๆๆๆๆ เราจะต้องหาตรงส่วนไหนของหอสมุดอ่ะ
โดย: จันเจ้า IP: 203.144.187.18 วันที่: 19 มกราคม 2551 เวลา:10:06:38 น.
  
ค่าสมัครสมาชิกเท่าไรอ่ะ
โดย: ไพทูรย์ วิสาสะ IP: 124.121.6.139 วันที่: 8 สิงหาคม 2551 เวลา:11:07:59 น.
  
เอ(หนึ่ง) วัม เม สุ(ดี) ตัง เอ(หนึ่ง) กัง(ยืนก้ม,คุกเข่า) สะ(พอกพูน) มะ(ลูก,ผล,บัดนี้) ยัง(มี,กระทำให้,คงอยู่,สู่,ถึง) ภะ(ความเจริญ,ความดี)คะวา(ขยายออก) พา(นำไป,นำ)ระ(กระทบเรียดไป,พาน,พะ,กระทบ)ณะ(อยู่นะ,ไปนะ)สิ(ไปสิ,มาสิ)ยัง (มี,กระทำให้,คงอยู่,สู่,ถึง)วิ(ปราศจาก)หะระ(กระทบเรียดไป,กระทบ)ติ(ชี้ข้อบกพร่อง) อิสิ(ผู้แสวงคุณความดี)ปะ(ปะทะ)ตะ(ฉาบ,แตะ,ทา)เน มิคะทา(เคลือบ)เย(ควรรู้,พึงรู้) ตัตระ โข ภะ(ความเจริญ,ความดี)คะวา(ขยายออก) ปัญ(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) จวัคคีเย(ควรรู้,พึงรู้) ภิกขุ อามันเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สิ(ไปสิ,มาสิ)

เทวเม ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความแรง,ความไหว,ความเร็ว) อัน(สิ่ง,ที่,ซึ่ง,อย่าง)ตา(แตกกิ่ง,แตกหน่อ,คราว,แต้ม,ทาง,ช่องที่เกิดจากการถักสาน,ลากเส้นผ่านกัน) ปัพพะชิเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))นะ นะเสวิ(ปราศจาก,ต่าง,จาก)ตัพพา(นำไป,นำ)โย

จา(พูดกล่าว)ยัง กาเมสุ(ดี) กามะสุ(ดี)ขัลลิ(เริ่มคิด)กานุโยโค หิโน(นูนขึ้น,โปขึ้น,ถูกกระทบกระแทก) คัมโม โปถุชะนิโก อะนะริ(เริ่มคิด)โย  อะนัต(ผู้ตั้งอยู่ในความรู้)ถะสัญหิโต(ใหญ่)

โย จายัง อัตถะกิละมะ(ลูก,ผล)ถา(ลับ,ถู)นุโยโค ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)โข อะนะริ(เริ่มคิด)โย อะนัต(ผู้ตั้งอยู่ในความรู้)ถะ สัญหิโต(ใหญ่)

เอเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์)) ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความแรง,ความไหว,ความเร็ว) อุโภ อันเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์)) อะนุปะ(ปะทะ)คัมมะ มัช(ท่ามกลาง)ฌิมา(เคลื่อนเข้าไปใกล้) ปะ(ปะทะ)ฎิ(ชี้ข้อบกพร่อง)ปะ(ปะทะ)ทา(เคลือบ) ตะถาคะเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))นะ อะภิ(ยิ่ง,เหนือ,เนื่องจาก,เฉพาะหน้า)สัมพุท(ผู้รู้พร้อม)ธา(เคลือบ) จัก(รู้แจ้ง,แฉกๆ,จำได้)ขุ กะ(ประมาณ)ระณี ญาณะ(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) กะ(ประมาณ)ระณี อุปะ(ปะทะ)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม) มา(เคลื่อนเข้าไปใกล้)ยะ อะภิญญา(อภิญญา)ยะ(ความรู้อย่างสูง)ยะ สัมโพธา(เคลือบ)ยะ นิพพานายะ สังวัต(หน้าที่,การปฎิบัติ,ความประพฤติ)ตะ(ฉาบ,แตะ,ทา)ติ(ชี้ข้อบกพร่อง)

อะยะเมวะ อะริ(เริ่มคิด)โย อัฎฐังคิโก มัคโค เสยยะถีทัง สัมมา(สุจริต,ดี)ทิฎฐิ(ชี้ข้อบกพร่อง) สัมมา(สุจริต,ดี) สัง(ความคิด,สิ่งที่เกิดขึ้น)โป(นูนขึ้น) สัมมา(สุจริต,ดี) วา(ขยายออก) จา (พูดกล่าว) สัมมา(สุจริต,ดี)กัมมันโต(ใหญ่) สัมมา(สุจริต,ดี)อาชีโว สัมมา(สุจริต,ดี)วายาโม(ความแน่น,ความบากบั่น,ความพยายาม) สัมมา(สุจริต,ดี)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)ติ(ชี้ข้อบกพร่อง) สัมมา(สุจริต,ดี)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มา(เคลื่อนเข้าไปใกล้)ธิ

 อะยังโข สา ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) มัช(ท่ามกลาง)ฌิมา(เคลื่อนเข้าไปใกล้) ปะ(ปะทะ)ฎิ(ชี้ข้อบกพร่อง)ปะ(ปะทะ)ทา(เคลือบ) ตะ(ฉาบ,แตะ,ทา)ถาคะเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์)นะ อะภิ(ยิ่ง,เหนือ,เฉพาะหน้า)สัมพุท(สุจริต,ดี)ธา(เคลือบ) จัก(รู้แจ้ง,แฉกๆ,จำได้)ขุ กะระณี ญาณะ(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) กะระณี อุปะ(ปะทะ)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มา(เคลื่อนที่เข้าไปใกล้)ยะ อะภิญญา(ความรู้อย่างสูง) ยะ สัมโพธา(เคลือบ)ยะ นิพพานายะ สังวัต(หน้าที่,การปฎิบัติ,ความประพฤติ)ตะ(ฉาบ,แตะ,ทา)ติ(ชี้ข้อบกพร่อง)

อิทังโข ปะ(ปะทะ)นะ ภิกขะเว(ความเร็ว,ความไหว,ความแรง,ความสะเทือน) ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขัง อะริ(เริ่มคิด)ยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ,)สัจ (ความแท้จริง,แท้,จริง,ความจริง) จัง(ยิ่งนัก,เต็มที่) ชาติ(ชี้ข้อบกพร่อง)ปิ ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขา ชะรา(ความแก่,ชำรุดทรุดโทรม)ปิ ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขา อัป(ปราศจาก,ไปจาก)ปิเยหิ สัมปะ(ปะทะ)โยโค ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)โข ปิเยหิ วิปปะ(ปะทะ)โยโค ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)โข ยัมปิจฉัง นะ ภะละติ(ชี้ข้อบกพร่อง) ตัมปิ ทุก (แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขัง  สังขิตเต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์)นะ ปัญ(แบ่งให้,แบ่ง)จุปา ทา(เคลือบ)นักขันธา(เคลือบ) ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขา

 อิทังโข ปะ(ปะทะ)นะ ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความไหว,ความเร็ว,ความแรง) ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มุทะ(ปะทะ)โย อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ,)สัจ(ความแท้จริง,แท้,จริง,ความจริง)จัง(ยิ่งนัก,เต็มที่)   ยา(เครื่องบำบัดป้องกันโรค/บำรุงร่างกาย,ทำให้หายโรค,รักษาโรคให้หาย)ยัง ตัณหา โป(นูนขึ้น)โนพภะวิกา นันทิ(ความยินดี,ผู้มีความยินดี)ราคะ สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)หะคะตา ตัตระ(ตัตตะระ)(ชัดเจน) ตัตรา ภินันทินี เสยยะถีทัง กามะตัณหา ภาวะ (ความปรากฎ,ความเป็น,ความมี) ตัณหา วิภาวะ (ความปรากฎ,ความเป็น,ความมี) ตัณหา

อิทังโข ปะ(ปะทะ)นะ ภิกขะเว(ความเร็ว,ความไหว,ความแรง,ความสะเทือน) ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะ นิโรโธ อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความแท้จริง,แท้,จริง,ความจริง)จัง(ยิ่งนัก,เต็มที่)  โย ตัสสาเย(ควรรู้,พึงรู้)วะ ตัณหายะ อะเสสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม) วิราคะ นิโรโธ จาโค ปะ(ปะทะ)ฎิ(ชี้ข้อบกพร่อง)นิสสัคโค มุตติ(ชี้ข้อบกพร่อง) อะนาละโย

อิทังโข ปะ(ปะทะ)นะ ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะนิโรธะ(ปะทะ)คามินี ปะ(ปะทะ)ฎิ(ชี้ข้อบกพร่อง)ปะ(ปะทะ)ทา(เคลือบ) อะริ(เริ่มคิด)ยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความแท้จริง,แท้,จริง,ความจริง)จัง(ยิ่งนัก,เต็มที่) ****(ทำไมจึงไม่มีต่อเหมือนกับบทของ ทุกขัง อะริยะสัจจัง (ตามด้วยชาติปิ
ทุกขา ชะราปิ ทุกขา(ต่อไปจนจบบท),ต่อเหมือนกับบทของทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง (ตามด้วย ยายังตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะ (ต่อไปจนจบบท)
(ต่อเหมือนกับบทของทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง (ตามด้วย โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะ วิราคะ (ต่อไปจนจบบท),และ สุดท้ายคือ ***ทุกขะนิโธธะคามินี ปะฎิปะฎา อะริยะสัจจัง) (ต้องตามด้วยเหมือนกับข้างต้นแต่ไม่มี  ........................................................

อะยะเมวะ อะริ(เริ่มคิด)โย อัฎ(เหตุ)ฐังคิโก มัค(ชอบ,พอใจ,เสมอ,ค่อนข้าง)โค เสยยะ(ดีกว่า)ถีทัง(ทั้ง) สัมมา(สุจริต,ดี)ทิฎ(อันบุคคล)ฐิ(ชี้ข้อบกพร่อง) สัมมา(สุจริต,ดี) สัง(ความคิด,สิ่งที่เกิดขึ้น)โป(นูนขึ้น) สัมมา(สุจริต,ดี) วา(ขยายออก) จา (พูดกล่าว) สัมมา(สุจริต,ดี)กัมมันโต(ใหญ่) สัมมา(สุจริต,ดี)อาชีโว สัมมา(สุจริต,ดี)วายาโม(วายามะ)(ความแน่น,ความบากบั่น,ความพยายาม) สัมมา(สุจริต,ดี)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)ติ(ชี้ข้อบกพร่อง) สัมมา(สุจริต,ดี)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มา(เคลื่อนเข้าไปใกล้)ธิ (สมาธิ)(ความแนวแน่ตั้งมั่นแห่งจิต)

 อิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขัง อะริยะ(เด่น,ประเสริฐ,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,แท้จริง)จันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความไหว,ความเร็ว,ความแรง) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,ความรู้,เหตุ,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแต่เรียนและคิด) อุทะ(ปะทะ)ปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ โอโลโก อุทะ(ปะทะ)ปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขัง อะริยะ(เด่น,ประเสริฐ,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จัง(ยิ่งนัก,เต็มที่) ปะ(ปะทะ)ริญเญย(ควรรู้,พึงรู้)ยันติ(ชี้้ข้อบกพร่อง)เม

ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์)) สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,ความรู้,เหตุ,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาด,เกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียน,ฝึกฝน) อุทะปาทิ โอโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง อะริยะ(เจริญ,เด่น,ประเสริฐ)สัจ(ความจริง,ความแท้,แท้จริง)จัง(เต็มที่,ยิ่งนัก) ปะ(ปะทะ)ริญญา(ความรอบรู้,ชั้นความรู้)ตันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความเร็ว,ความแรง,ความไหว) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,ความรู้,เหตุ,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี)

จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) ปัญญา (ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแต่เรียนและคิด) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ โอโลโก อุทะปาทิ

อิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มุทะ(ปะทะ)โย อะริยะ(เด่น,ประเสริฐ,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน,ความเร็ว) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี)

จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มุทะ(ปะทะ)โย อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ (ดี) ธัม(คุณความดี,ความรู้,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มุทะโย อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จัง(เต็มที่,ยิ่งนัก) ปะ(ปะทะ)หาตัพพันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) ปุพเพ  อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะ(ปะทะ)ปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มุทะโย อะริยะ(เด่น,ประเสริฐ,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จัง(เต็มที่,ยิ่งนัก) ปะ(ปะทะ)หินันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เตสุ(ดี) ธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(ความรู้แจ้ง,แฉกๆ,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

อิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะนิโรโธ อะริยะ(เด่น,ประเสริฐ,เจริญ)สัจ(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด)จันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความแรง,ความเร็ว,ความแรง) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เตสุ(ดี) ธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะนิโรโธ อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน,ถ้่วนทั่ว)จัง(เต็มที่,ยิ่ง)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน,ถ้่วนทั่ว)จิกาตัพพันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง) เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้) ขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะนิโรโธ อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จัง(เต็มที่,ยิ่งนัก) สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จิกะตันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,ความรู้,เหตุ,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ณาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้เกิดจากเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ โอโลโก อุทะปาทิ

อิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะนิโรธะคามินี ปะ(ปะทะ)ฎิ(ชี้ข้อบกพร่อง)ปะ(ปะทะ)ทา(เคลือบ) อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จันติ(ชีัข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(ความเร็ว,ความแรง,ความไหว,ความสะเทือน) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี)  ธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้ ,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉกๆ,จำได้) ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้เกิดจากเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

 ตังโข ปะ(ปะทะ)นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะ นิโรธะคามินี ปะ(ปะทะ)ฎิปะ(ปะทะ)ทา(เคลือบ) อะริยะสัจ(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด)จัง(เต็มที่,ยิ่งนัก)  ภาเวตัพพันติ(ชีัข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(เคลื่อนเข้ามาใกล้) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์)สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,เหตุ , ความรู้,ความถูกต้อง) เมสุ(ดี) จัก(รู้แจ้ง,แฉก,จำได้)ขุง อุทะ(ปะทะ)ปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะ(ปะทะ)ปาทิ วิชชา(ความรู้ที่ได้จากการเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ตังโข ปะ (ปะทะ) นิทัง ทุก(แต่ละหน่วย,ถ้วนทั่ว)ขะ นิโรธะคามินี ปะ(ปะทะ)ฎิ(ชี้ข้อบกพร่อง)ปะ(ปะทะ)ทา(เคลือบ) อะริยะ(ประเสริฐ,เด่น,เจริญ)สัจ(ความจริง,ความแท้,ความครบถ้วน)จัง(เต็มที่,ยิ่งนัก)  ภาวิตันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เม ภิกขะเว(เคลื่อนเข้ามาใกล้) ปุพเพ อะนะนุสสุ(ดี)เต(สาม(พระพุทธ,พระธรรม,พระสงฆ์))สุ(ดี) ธัม(คุณความดี,ความรู้,เหตุ,ความถูกต้อง)เมสุ(ดี) จัก(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)ขุง อุทะปาทิ ญาณัง(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้) อุทะปาทิ ปัญญา(ความรอบรู้,ความรู้ทั่ว,ความฉลาดเกิดแท้แก่เรียนและคิด) อุทะปาทิ วิชชา(ความรู้เกิดจากเล่าเรียนและฝึกฝน) อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ


ยา(เครื่องบำบัดป้องกันโรค/บำรุงร่างกาย,ทำให้หายโรค,รักษาโรคให้หาย)วะกีวัญ(ระยะเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง 1รอบ 24 ชั่วโมง,เวลาทำการที่ได้กำหนดขึ้นโดยกฎหมาย)จะเม ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความแรง,ความไหว,ความเร็ว) อิเมสุ(ดี) จะตูสุ(ดี) อะริยะ(เจริญ,เด่น,ประเสริฐ) สัจ(ความจริง,ความแท้,
ความครบถ้วน,ถ้่วนทั่ว)เจสุ(ดี) เอวัน(ระยะเวลา1วัน24ชั่วโมง,ระยะ24ชั่วโมง)ติ(ชี้ข้อบกพร่อง) ปะ(ปะทะ)ริ(เริ่มคิด) วัฎฎะ(การหมุน,วงกลม,การเวียนไป) ทวาทะ(ปะทะ)สาการัง ยะถาภูตัง ญาณะ(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้)ทัสสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)นัง นะ สุ(ดี)วิสุทธัง อะโหสิ

เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะ(พอกพูน)เทวะเก โลเก สะ(พอกพูน)มาระเก สะ(พอกพูน)พรัหมะเก สัสสะ(พอกพูน)มะณะ พราหมะณิยา(เครื่องบำบัดป้องกันโรค/บำรุงร่างกาย,ทำให้หายโรค,รักษาโรคให้หาย) ปะชายะ สะเทวะ มะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมา(สุจริต,ดี)
สัมโพธิง อะภิ(เหนือ,ยิ่ง,เฉพาะหน้า)สัมพุท(ผู้รู้พร้อม)โธ ปัจจัญญาสิง

ยะโต จะโข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ(ดี) อะริ(เริ่มคิด)ยะสัจเจสุ(ดี) เอวันติ(ชี้ข้อบกพร่อง) ปะ(ปะทะ)ริ(เริ่มคิด)วัฎฎัง(วัฎฎะ) การหมุน , วงกลม) ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะ(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้)ทัสสะ(พอกพูน)นัง สุ(ดี)วิสุทธัง อะโหสิ

อะถาหัง ภิกขะเว(ความสะเทือน,ความแรง,ความเร็ว,ความไหว) สะ(พอกพูน)เทวะเก โลเก สะ(พอกพูน)มาระเก สะ(พอกพูน)พรัหมะเก สัสสะ(พอกพูน)มะนะ พราหมะณิยา ปะชายะ สะ(พอกพูน)เทวะ มะนุส(มะนุดหรือมนุษย์)รู้จักใช้เหตุผล สะ(พอกพูน)ยะ อะนุตตะรัง สัมมา สุจริต,ดี สัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง

ญาณัญ(ความรู้,ปัญญา,ปัญญาอันรู้จักปรีชาหยั่งรู้)จะ ปะ(ปะทะ)นะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพพะโวติ อิทะมะโวจะ ภะคะวา(ขยายออก) อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขุ ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง

อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยา กะระณัสมิง ภัณณะมาเน อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ(พอกพูน) วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะ(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)จัก(รู้แจ้ง,แฉกๆ,จำได้)ขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะ(พอกพูน)มุทะยะธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)มัง
สัพพันตัง นิโรธะธัม(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)มันติ(ชี้ข้อบกพร่อง)

ปะ(ปะทะ)วัตติ(ชี้ข้อบกพร่อง)เต(ชี้ข้อบกพร่อง) จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาระณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะ(คุณความดี,เหตุ,ความรู้,ความถูกต้อง)จัก(รู้แจ้ง,แฉกๆ จำได้)
กัง(เต็มที่,ยิ่ง) ปะ(ปะทะ)วัตติ(ชี้ข้อบกพร่อง)ตัง อัปปะ(ปะทะ)ฎิวัตติ(ชี้ข้อบกพร่อง)ยัง

สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มะเณนะวา(ขยายออก) พราหมะเณนะวา(ขยายออก) เทเวนะวา(ขยายออก) มาเรนะวา(ขยายออก) พรัหมุนาวา(ขยายออก) เกนะจิวา(ขยายออก) โลกัสมินติ(ชี้ข้อบกพร่อง)

เอตัม ภะคะวะตา พาระณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะ(ปะทะ)ฎิวัตติ(ชี้ข้อบกพร่อง)ยัง

สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)มะเณณะวา(ขยาย)  พราหมะเณนะวา(ขยายออก) เทเวนะวา(ขยายออก) มาเรนะวา(ขยายออก) พรัหมุนาวา เกนะจิวา(ขยายออก) โลกัสมินติ(ชี้ข้อบกพร่อง)

อิติหะเตนะ  ขะเณนะเตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะ โลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ อะยัญจะ ทะสะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)สะ(พอกพูน,เพิ่มเติม)หัสสี โลกะธาตุ(แผ่นดิน) สังกัมปิ สัมปะ(ปะทะ)กัมปิ สัมปะ(ปะทะ)เวธิ อัปปะ(ปะทะ)มาโณจะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ
อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง

อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะโภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะโภ โกณฑัญโญติ(ชี้ข้อบกพร่อง)

อิติ(ชี้ข้อบกพร่อง)หิทัง อายัสมะโต(ใหญ่) โกณฑัญญัสสะ(พอกพูน) อัญญาโกณฑัญโญ เตวะ นามัง อะโหสีติ(ชี้ข้อบกพร่อง)


** หมายเหตุ ยังแปลยังไม่เสร็จต้องรอรวบรวมข้อมูลค่ะ
รวบรวมข้อมูลตัวอักษรแต่ละตัวเป็นคำแต่ละคำเป็นประโยคออกมาถ่ายทอดสู่การกระทำ
โดย: ชญานุช พชรกนก IP: 180.183.129.172 วันที่: 5 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา:16:55:51 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

กระปุกกลิ้ง
Location :
กรุงเทพ  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]






เขียนเอง..ชอบเอง
ฉันตกหลุมรักคนแปลกหน้า



Review หนังสือ
สารบัญหนังสือ 2557

กรกฏาคม 2549

 
 
 
 
 
 
1
2
3
8
9
11
12
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
26
27
28
29
30
31
 
 
All Blog