ธันวาคม 2550

 
 
 
 
 
 
1
2
3
4
5
7
8
9
10
12
14
15
19
20
21
22
26
27
28
29
31
 
 
All Blog
กู่ฉินกับเพลง 捣衣 (ทุบผ้า)
เพลงนี้บรรเลงโดย อาจารย์ 龚一 แห่ง 上海音乐学院




Create Date : 30 ธันวาคม 2550
Last Update : 30 ธันวาคม 2550 16:19:08 น.
Counter : 1813 Pageviews.

9 comments
  
สวัสดีปีใหม่ครับคุณชัช
มีความสุขมากๆ นะครับ

พอดีไปอ่าน Blog โปสการ์ดหนึ่งใบ เห็นคุณ Comment ไว้โดนใจ เลยแวะมาทักทาย

ที่คุณเคยชวนฝึกพิณกู่ฉินน่ะ สนใจนะ แต่อยากให้ลูกเรียนมากกว่า ไม่รู้พอจะเป็นไปได้ไหม

ยินดีที่รู้จักคุณนะครับ
โดย: คนขับช้า IP: 202.149.24.129 วันที่: 1 มกราคม 2551 เวลา:2:13:19 น.
  
Photobucket
โดย: i_nookae วันที่: 1 มกราคม 2551 เวลา:14:22:44 น.
  
Happy New Year Kha

คิดสิ่งใดขอให้สมปรารถนานะคะ
โดย: มามิยะ IP: 124.120.78.80 วันที่: 1 มกราคม 2551 เวลา:19:55:40 น.
  
ลองอ่านดูค่ะ คิดว่าคุณกู่ฉินรู้หมดแล้วแต่เห็นแล้วอดคิดถึงไม่ได้ค่ะ


//www.okls.net/jeen6.htm
โดย: มามิยะ IP: 124.121.243.111 วันที่: 3 มกราคม 2551 เวลา:0:27:28 น.
  
emoชัชผมเอาหมูน้อยมาฝาก สวัสดีปีใหม่ครับ
<
<
Photo Sharing and File Hosting at Badongo.com
โดย: มหาสำลี IP: 58.9.125.215 วันที่: 8 มกราคม 2551 เวลา:22:33:39 น.
  
emoชัช ตื่นได้เเล้ว ว่าเเต่กู่ฉิ่นของคุณ

เอามาเล่นเพลงไทยเดิมได้หรือเปล่า ชัชน่าจะอธิบาย

มากกว่านี้นะครับ ที่ว่าไพเราะของชัช นั้นมันตรงไหนผมจะได้รู้จักกู่ฉินมากกว่านี้
โดย: มหาสำลี วันที่: 9 มกราคม 2551 เวลา:5:53:27 น.
  
กู่ฉินมันเล่นได้ทุกอย่างแหละครับ อย่าว่าแต่ไทยเดิม เพลงอินเดีย เพลงละติน ได้ทั้งนั้น เพลงคลาสสิกแบบพวกซิมโฟนีก็ยังไหว ผมเคยลองดีดเพลง เฟือร์ เอลิเซ (ของเบโทเฟน) มันก็ได้เหมือนกันครับ แค่ตำแหน่งจุดที่กดมันถี่ๆ หน่อยต่างจากดนตรีจีน
ปัญหาคือ มันไม่ใช่กู่ฉินของแท้ครับ สมรรถนะทำได้ แต่เทคนิคมันไม่ใช่ เล่นเป็นครั้งคราวเพื่อทดลองล่ะได้ แต่ว่าไม่เหมาะกับจุดประสงค์แท้จริงของมัน
ผมถึงจะไม่เก่งเท่าชัช แต่ก็พอบอกได้ว่าความไพเราะของกู่ฉินไม่ได้อยู่ที่แค่เสียงสูงต่ำที่จับมาเรียงกัน เพราะถ้าแค่นั้น ดนตรีอะไรก็ทำได้เหมือนกันหมด หากคุณมหาสำลีมีโอกาสและเวลาพอตั้งใจฟังดีๆ คุณอาจจะได้ยินอะไรที่มันแฝงอยู่ และยิ่งกว่านั้น คุณจะเห็นความหลากหลายของเสียง ที่แม้เป็นโน้ตเดียวกัน แต่ก็มี "กลิ่นอาย" ต่างกัน ถูกนำมาใช้ในที่ต่างๆ ของเพลง ขึ้นอยู่กับเนื้อหานั้นๆ ความแปรผันที่ไม่รู้จบของกู่ฉินนี้ ทำให้มันมีความพิเศษและไพเราะอย่างล้ำลึก
กู่ฉินเป็นเครื่องดนตรีที่เอา "ตัวเรา" ลงไปเล่นอย่างแท้จริงครับ ไม่ได้หมายความว่าลงเข่าเขย่าศอก แต่หมายความว่า ความอิสระของมันทำให้ตัวตนของเราแสดงออกมาทางเสียงได้อย่างเต็มที่ ถ้าคุณฟังแล้วไม่รู้สึกว่าเพราะ ปัจจัยอื่นนอกจา่กผู้เล่นฝีมือห่วยแล้ว อาจเป็นเพราะเพลงมันไม่เข้ากับรสนิยมของตัวคุณเองก็ได้ครับ ซึ่งเป็นเรื่องธรรมดาของคนดนตรีที่ต้องมีแนวที่ตัวเองชอบ แต่ที่อยากบอกก็คือ กู่ฉินมันไม่ได้มีแต่เสียงเปล่าๆ ฉะนั้น มันจะเพราะหรือไม่เพราะสำหรับใคร แต่มันมีความหมายในตัวเสียงอยู่ และมีอะไรที่บางครั้งผู้ฟังสัมผัสไม่ถึง
ยกตัวอย่างเรื่องนี้ง่ายๆ ผมเคยดีดกู่ฉินให้เพื่อนคนหนึ่ง ซึ่งเป็นคนเล่นกีต้าร์ฟัง เขาบอกว่า กู่ฉินเล่นไม่ต่อเนื่อง เสียงหนึ่งดีดแล้ว รอไปอีกนานถึงจะดีดอีกตัว แต่ทำไมมันจึงเป็นเพลง อธิบายง่ายๆ ก็คือ อะไรที่เราไม่ได้ยิน มันเป็นสิ่งที่เชื่อมเพลงเข้าด้วยกัน นั่นคือหางเสียงที่ค่อยๆ จางอย่างเชื่องช้า ความสั่นสะเทือนต่ำๆ มันยังอยู่ ถึงแม้เสียงมันจะต่ำกว่าหูได้ยิน แต่ความรู้สึกมันไม่ขาด (ถ้าจะให้เสียงขาดอย่างแท้จริง ต้องวางมือลงบนสายเพื่อทำให้มันหยุดสั่น) นอกจากนี้ จังหวะในการขยับมือแต่งหางเสียง ก็ทำให้เกิดอะไรที่บางครั้งตัวผู้เล่นเท่านั้นสัมผัสได้ เช่นคลื่นสั่นสะเทือนเล็กน้อยเวลาขยับมือซ้ายเบาๆ คนที่หูไม่ละเอียดพอ หรือเพิ่งเริ่มรู้จักกู่ฉิน ก็จะสังเกตฟังไม่ทัน แม้กระทั่งความเงียบหรือความดังของสิ่งแวดล้อม ก็ทำให้เกิดความแตกต่างมาก ถ้าเล่นในที่มีเสียงดังหรือที่กว้าง คนที่จะฟังเสียงได้มากที่สุด ก็คือคนเล่นเองนั่นแหละ ส่วนผู้ฟัง จะมีอะไรที่ขาดๆ หายๆ ไป
เรื่องที่ผมพูดมานี้ ต้องลองเล่นถึงจะเข้าใจและรู้จักกู่ฉินมากขึ้นครับ
โดย: ณัฐ IP: 124.121.0.199 วันที่: 9 มกราคม 2551 เวลา:18:15:41 น.
  
ขอบคุณครับ ไว้ถ้ามีโอกาสจะหามาฟัง

กรุณาเเนะนำ CD งานดีๆๆ ด้วยนะครับผมจะลองหัดฟังดู
โดย: มหาสำลี วันที่: 9 มกราคม 2551 เวลา:18:39:49 น.
  
เอาล่ะครับ
ฟังเสร็จแล้ว
ก็เดินไปไปเพลงตอ่ไปครับ

โดย: ก๋าคุง (กะว่าก๋า ) วันที่: 11 ตุลาคม 2551 เวลา:7:56:37 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

กู่ฉิน
Location :
Beijing  China

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 5 คน [?]



ชัชชล ไทยเขียว (ชัช)
ยินดีที่ได้รู้จักผู้สนใจดนตรีกู่ฉินทุกท่านครับ

MSN : tq.canchuan@hotmail.com
https://www.facebook.com/SiamGuqin