สวัสดีครับ บล็อคนี้เชิงวิชาการนะครับ(คณิตศาสตร์ วิศวกรรม ปรัชญา)
 
Leibniz's Rule

กรณีที่ฟังชันก์ยุ่งยาก ซับซ้อนมีการเปลี่ยนตัวแปรซับซ้อน
อาจใช้
เทคนิคการอินทิเกรต โดยใช้กฏของไลบ์นิตซ์
1.สร้างพารามิเตอร์โดยพิจารณา ขอบเขตนิยม(0,1)โดยให้มีค่าเท่ากับ ฟังชันก์เดิมตามทฤษฏีหลักมูลฐาน
2.หาอนุพันธ์ของฟังชันก์พารามิเตอร์
3.ทำการอินทิเกรตพารามิเตอร์หลัก
4.อินทิเกรตพารามิเตอร์เสริม ปล.เพื่อให้ง่ายควรใช้มูลฐานการอินทิเกตรเข้าช่วยพิจารณาขอบเขต ลดขั้นตอนหาค่าคงที่



เทคนิคเปลี่ยนตัวแปรโดยคุณ Mastermander



จากตัวอย่างการใช้กฏของไลบ์นิตซ์นั้นมีขั้นตอนที่ยุ่งยากแต่การจะมองโดยใช้เทคนิคการเปลี่ยนตัวแปรแบบที่คุณนั้น หากไม่มีความชำนาญจะทำให้เสียเวลามาก กฏไลบ์นิตซ์จึงเป็นอีกเทคนิคที่มาบอกต่อ ๆกันครับ


Create Date : 14 ตุลาคม 2549
Last Update : 18 พฤษภาคม 2553 12:22:12 น. 7 comments
Counter : 4307 Pageviews.  
 
 
 
 
รบกวนคุณ เซียนmath ช่วยทำโจทย์ขอวิธีทำด้วยนะคะ ต้องส่งเย็นนี้แล้ว ไม่งั้นติด E พยายามทำเองได้แล้ว 6 ข้อ ส่วนที่เหลือหมดปัญญา เห็นแก่อนาคต หนูหน่อยนะคะ ขอร้อง จากเอ็ม คนหมดปัญญา
หาผลเฉลยเฉพาะของสมการแบร์นูลลี
6y2dx-x (2x3+y)dy = 0

xydx+(x2-3y)dy = 0

จงแก้สมการเชิงอนุพันธ์โดยวิธีจัดแยกตัวแปร
2(y+3)dx-xydy = 0

หาผลเฉลยทั่วไปของสมการเอกพันธ์
(2x+y)2 dx = xydx

(y2 - x2) dx + xydy = 0

xydx + (x2 + y2)dy =0



 
 

โดย: เอ็ม IP: 203.113.76.13 วันที่: 15 ตุลาคม 2549 เวลา:13:41:57 น.  

 
 
 
เพิ่งมาเห็นคงไม่ทันแล้วครับคุณเอ็ม ต้องขอโทษด้วย
 
 

โดย: เจ้าของบล๊อค IP: 58.10.9.167 วันที่: 15 ตุลาคม 2549 เวลา:19:03:19 น.  

 
 
 
ช่วยทำโจทย์พวกนี้หน่อยได้มั้ยค่ะ
สมการแยกตัวแปร
3
1.sin3xdx+2ycos 3xdy=0
x x
2.e cosydx+(1+e ) sinydy=0
2 -y 2 -y
3.y'=x +xe -x e -x

4.แก้สมการ dy/dx = 3x+2y/3x+2y+2


สมการเอกพันธ์

1.xsin[y/x]dy=[x+ysin[y/x]dx ที่ y (1)=0
2 2
2.[x +2y ]dx=xydy; y[-1]=1

ช่วยอธิบายให้หนูเข้าใจด้วยนะค่ะเป็นคนเข้าใจยาก
หรือเรียกว่าโงนั้นล่ะค่ะ
ขอขอบคุณอย่างสูงค่ะ
 
 

โดย: พัชริณภรณ์ IP: 124.157.230.95 วันที่: 17 สิงหาคม 2551 เวลา:19:17:17 น.  

 
 
 
1.sin3xdx+2ycos[กำลัง3]
2.e[กำลังx]
3.(xกำลัง2) + x.(eกำลัง-y) - (xกำลัง2) .(eกำลัง-y) - x

2. (xกำลัง2+2y)
 
 

โดย: พัชริณภรณ์ แก้ไฃ IP: 124.157.230.95 วันที่: 17 สิงหาคม 2551 เวลา:19:26:00 น.  

 
 
 
????? มาตอนไหนเนี้ยะ เพิ่งเห็นครับ !!!!!
ขออภัยด้วย
 
 

โดย: เซียนแห่งmath วันที่: 19 กันยายน 2551 เวลา:0:35:04 น.  

 
 
 
(หากคิดว่า ความคอมเม้นต์ไม่สร้างสรรค์ ช่วยลบเลยนะครับ)

คือว่า อยากทราบประวัติเจ้าของสูตร เลยไปค้น google มา
แต่ไม่เจอนักคณิตศาสตร์ที่ชื่อ Leibnitz เลย
ก็ไม่ทราบว่าเป็นสูตรของใคร

เจอแต่ Leibniz ที่มีชีวิตในช่วงเดียวกับนิวตัน
ไม่มั่นใจว่า คนเดียวกันหรือเปล่า
 
 

โดย: non IP: 217.235.72.228 วันที่: 18 พฤษภาคม 2553 เวลา:4:14:53 น.  

 
 
 
ขอบคุณ คุณ non ครับที่ช่วยแก้ไข
Leibiniz คนเดียวกันครับ
ผมพิมพ์ผิดเอง

ปล. แก้ไขแล้วนะครับ
 
 

โดย: เซียนแห่งmath วันที่: 18 พฤษภาคม 2553 เวลา:12:21:11 น.  

Name
Opinion
*ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก

คณิตศาสตร์โลกที่สาม
 
Location :
กรุงเทพ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]




T_T
[Add คณิตศาสตร์โลกที่สาม's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com