WishRich
Group Blog
 
All Blogs
 

ปีการตัดแต่งกิ่งสำหรับต้นกาแฟอายุตั้งแต่ 8 ปีเป็นต้นไป

//web.agri.cmu.ac.th/highland/cultivation_method/prune_side_2.jpg
การตัดแบบเปิดข้างจะตัดกิ่งแขนงที่อยู่ด้าน

ตะวันออก ทิ้งทั้งหมด (แสงเป็นตัวกระตุ้น ให้หน่อเจริญออกมา)
เมื่อหน่อใหม่เกิดขึ้น
อายุประมาณ 6 เดือน จึงตัดลำต้นเก่าออก
คัดเลือกหน่อที่แข็งแรงไว้เพียง
1-2 อัน เพื่อเลี้ยงให้เป็นลำต้นหลักต่อไป


การตัดจนเหลือแต่ตอ
//web.agri.cmu.ac.th/highland/cultivation_method/prune5.jpg
จุดประสงค์เช่นเดียวกับการตัดแต่งกิ่ง

แบบเปิดข้าง การตัดออกทั้งหมดจะทำให้

เกิดหน่อใหม่ จำนวนมากแตกออกมา คัดเลือกไว้ไม่เกิน 3 หน่อ
ปล่อยให้เจริญ
เติบโตเป็นลำต้นหลักต่อไป




 

Create Date : 30 มิถุนายน 2553    
Last Update : 30 มิถุนายน 2553 16:47:10 น.
Counter : 471 Pageviews.  

การตัดแต่งกิ่งกาแฟสำหรับระยะ 3-5 ปีแรก





 

Create Date : 30 มิถุนายน 2553    
Last Update : 30 มิถุนายน 2553 16:30:24 น.
Counter : 365 Pageviews.  

การดูแลรักษการใส่ปุ๋ยากาแฟ













//web.agri.cmu.ac.th/highland/cultivation_method/fertilizer.jpg




ในระยะที่กาแฟยังไม่ติดผล ควรใส่

ปุ๋ย 46-0-0 เมื่อกาแฟเริ่มติดผลแล้ว

(ปีที่ 4 เป็นต้นไป) ต้องใช้ปุ๋ย 15-15-

15 ใช้หลักการคร่าวๆคือ ใส่ 3 ครั้ง

ในเวลาต้น-กลาง-ปลายฤดูฝน ครั้งหนึ่งๆ

ใส่ 30-150 กรัม (1-5 กำมือ) ขึ้นอยู่กับ ปริมาณการติดผล
และขนาดการเติบโต

ของลำต้น


 


 




 

Create Date : 30 มิถุนายน 2553    
Last Update : 30 มิถุนายน 2553 16:25:43 น.
Counter : 348 Pageviews.  

การดูแลรักษากาแฟ

//web.agri.cmu.ac.th/highland/cultivation_method/weed1.jpg
กาแฟควรได้รับการกำจัดวัชพืชสม่ำ

เสมอในฤดูฝน โดยเฉพาะหลังปลูก

ใหม่อายุ 1-3 ปี เพราะต้นยังเล็กไม่

สามารถเจริญ เติบโตแข่งกับวัชพืชได้
โดยการถางรอบๆ
บริเวณสวนกาแฟ
 และถางให้สะอาดบริเวณโคนต้นเพื่อ

การใส่ปุ๋ยต่อไป เศษวัชพืชที่ถางออก

สามารถนำมาเป็นวัสดุคลุมดินได้





 

Create Date : 30 มิถุนายน 2553    
Last Update : 30 มิถุนายน 2553 16:21:54 น.
Counter : 385 Pageviews.  

การดูแลต้นยางในช่วงแล้ง


//www.rubberthai.com/information/image/7.jpg
การคลุมโคนต้นยาง

       
การคลุมโคนต้นยางเป็นวิธีการปฏิบัติที่จำเป็นต่อต้นยางอายุ
1-3 ปี ก่อนเข้าฤดูแล้ง
ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการปลูกสร้างสวนยางของเกษตรกร

        1. ช่วยเก็บรักษาความชื้นในดิน

        2. ทำให้ต้นยางรอดตายสูงกว่าการไม่คลุมโคน

        3. ช่วยให้ต้นยางเจริญเติบโตดีขึ้น

       
วัสดุที่ใช้คลุมโคนต้นยางควรเลือกใช้วัสดุที่หาง่ายมีปริมาณมาก
เช่น เศษซากวัชพืช ซากพืชคลุม หญ้าคา ฟางข้าว เป็นต้น

        คลุมบริเวณโคนต้นยาง ห่างจากต้นยาง
5-10 เซนติเมตร มีรัศมีคลุมพื้นที่รอบโคนต้นยางประมาณ 1 เมตร
หนาประมาณ
10 เซนติเมตร

การป้องกันไฟไหม้ในสวนยาง
และการดูแลสวนยางในช่วงแล้ง


          ช่วงแล้งซึ่งเป็นช่วงฤดูหนาว
และฤดูร้อนของประเทศไทยนั้น
จะมีปริมาณฝนน้อย ดินขาดความชุ่มชื้น
อีกทั้งความร้อนจากแสงแดดและกระแสลมที่พัดรุนแรง
เป็นสาเหตุให้ต้นยาง
โดยเฉพาะยางเล็กที่ปลูกในท้องที่ปลูกยางใหม่จะชะงักการเจริญเติบโตและแห้ง
ตาย

ปัญหาเรื่องไฟไหม้สวนยางนับว่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ทั้งในสวนยาง
เล็กและสวนยางใหญ

การป้องกันไฟไหม้สวนยาง

         การป้องกันไฟไหม้สวนยางควร
ปฏิบัติก่อนเข้าช่วงแล้ง
โดยมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้


        1. ทำแนวกันไฟ

        2. กำจัดวัชพืชในสวนยาง

        การทำแนวกันำฟ
เป็นการป้องกันำฟที่ลุกลามมาจากบริเวณข้างเคียงที่อยู่ติดกับสวน
สามารถทำได้โดยการไถ
หรือขุดถากวัชพืชและเศษซากพืชออกเป็นแรวกว้าง ไม่ต่ำกว่า
3 เมตร รอบบริเวณสวนยาง

        การกำจัดวัชพืชในสวนยาง
เป็นการป้องกันไฟไหม้ที่จะเกิดภายในสวนยาง
โดยกำจัดวัชพืชในบริเวณแถวยางออกให้หมดข้างละ
1 เมตร ก่อนเข้าหน้าแล้ง

        กรณีต้นยางที่ถูกไฟไหม้ไม่รุนแรง
แนะนำให้ใช้ส่วนผสมของปูนขาวผสมน้ำอัตรา 1:1 ทิ้งไว้ค้างคืน
แล้วทาลำต้น

        ถ้าต้นยางได้รับความเสียหายจากไฟเกินร้อยละ
40 ของทั้งสวนควรทำการปลูกใหม่




 

Create Date : 30 มิถุนายน 2553    
Last Update : 30 มิถุนายน 2553 16:15:48 น.
Counter : 659 Pageviews.  

1  2  3  4  5  6  7  8  9  10  11  12  13  14  15  16  17  18  19  20  21  22  23  24  25  26  27  28  29  30  31  32  33  34  35  36  37  38  39  40  41  42  43  44  45  46  

WishRich
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed

ผู้ติดตามบล็อก : 1 คน [?]




มาเริ่มเปลี่ยนแปลงตัวเองไปพร้อม ๆ กัน เพื่อความสำเร็จในชีวิตและหน้าที่การงานครับ
Friends' blogs
[Add WishRich's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.