ก็แค่Weblogดองๆทำเล่นไปเรื่อยแหละน่าของกรรมกรกระทู้ลงชื่อและเมล์ที่Blogนี้สำหรับผู้ที่ต้องการGmailครับ
เข้ามาแล้วกรุณาตอบแบบสอบถามว่าคุณตั้งหน้าตั้งตาเก็บเนื้อหาในBlogไหนของผมบ้างนะครับ
รับRequestรูปCGการ์ตูนไรท์ลงแผ่นแจกจ่ายครับ
ติดตามการเคลื่อนไหวของกรรมกรผ่านTwitter

เข้ามาเยี่ยมแล้วรบกวนลงชื่อทักทายในBlogไหนก็ได้Blogหนึ่งพอให้ทราบว่าคุณมาเยี่ยมแล้วลงสักหน่อยนะอย่าอายครับถ้าคุณไม่ได้เป็นหัวขโมยเนื้อหาBlog(Pirate)โจทก์หรือStalker

ความเป็นกลางไม่มีในโลก มีแต่ความเป็นธรรมเท่านั้นเราจะไม่ยอมให้คนที่มีตรรกะการมองความชั่วของ มนุษย์บกพร่อง ดีใส่ตัวชั่วใส่คนอื่น กระทำสองมาตรฐานและเลือกปฏิบัติได้ครองบ้านเมือง ใครก็ตามที่บังอาจทำรัฐประหารถ้าไม่กลัวเศรษฐกิจจะถอยหลังหรือประวัติศาสตร์จะซ้ำรอย ได้เจอกับมวลมหาประชาชนที่ท้องสนามหลวงแน่นอน

มีรัฐประหารเกิดขึ้นเมื่อไหร่ ขอให้มวลมหาประชาชนผู้รักประชาธิปไตยทุกท่าน จงไปชุมนุมพร้อมกันที่ท้องสนามหลวงทันที

พรรคการเมืองนะอยากยุบก็ยุบไปเลย แต่ึอำมาตย์ทั้งหลายเอ็งไม่มีวันยุบพรรคในหัวใจรากหญ้ามวลมหาประชาชนได้หรอก เสียงนี้ของเราจะไม่มีวันให้พรรคแมลงสาปเน่าๆไปตลอดชาติ
เขตอภัยทาน ที่นี่ไม่มีการตบ,ฆ่าตัดตอนหรือรังแกเกรียนในBlogแต่อย่างใดทั้งสิ้น
อยากจะป่วนโดยไม่มีสาระมรรคผลปัญญาอะไรก็เชิญตามสบาย(ยกเว้นSpamไวรัสโฆษณา มาเมื่อไหร่ฆ่าตัดตอนสถานเดียว)
รณรงค์ไม่ใช้ภาษาวิบัติในโลกinternetทั้งในWeblog,Webboard,กระทู้,ChatหรือMSN ถ้าเจออาจมีลบขึ้นอยู่กับอารมณ์ของBlogger
ยกเว้นถ้าอยากจะโชว์โง่หรือโชว์เกรียน เรายินดีคงข้อความนั้นเพื่อประจานตัวตนของโพสต์นั้นๆ ฮา...

ถึงอีแอบที่มาเนียนโพสต์โดยอ้างสถาบันทุกท่าน
อยากด่าใครกรุณาว่ากันมาตรงๆและอย่าได้ใช้เหตุผลวิบัติประเภทอ้างเจตนาหรือความเห็นใจ
ไปจนถึงเบี่ยงเบนประเด็นไปในเรื่องความจงรักภักดีต่อสถาบันฯเป็นอันขาด

เพราะการทำเช่นนี้รังแต่จะทำให้สถาบันฯเกิดความเสียหายซะเอง ผมขอร้องในฐานะที่เป็นRotational Royalistคนหนึ่งนะครับ
มิใช่Ultra Royalistเหมือนกับอีแอบทั้งหลายทุกท่าน

หยุดทำร้ายประเทศไทย หยุดใช้ตรรกะวิบัติ รณรงค์ต่อต้านการใช้ตรรกะวิบัติทุกชนิด แน่นอนความรุนแรงก็ต้องห้ามด้วยและหยุดส่งเสริมความรุนแรงทุกชนิดไม่ว่าทางตรงทางอ้อมทุกคนทุกฝ่ายโดยเฉพาะพวกสีขี้,สื่อเน่าๆ,พรรคกะจั๊ว,และอำมาตย์ที่หากินกับคนที่รู้ว่าใครต้องหยุดปากพล่อยสุมไฟ ไม่ใช่มาทำเฉพาะเสื้อแดงเท่านั้นและห้ามดัดจริต


ใครมีอะไรอยากบ่น ก่นด่า ทักทาย เชลียร์ เยินยอ ไล่เบี๊ย เอาเรื่อง คิดบัญชี กรรมกรกระทู้(ยกเว้นSpamโฆษณาตัดแปะรำพึงรำพัน) เชิญได้ที่ My BoardในMy-IDของกรรมกรที่เว็ปเด็กดีดอทคอมนะครับ


Weblogแห่งนี้อัพแบบรายสะดวกเน้นหนักในเรื่องข้อมูลสาระใช้ประโยชน์ได้ในระยะยาว ไม่ตามกระแส ไม่หวังปั่นยอดผู้เข้าชม
สำหรับขาจรที่นานๆเข้ามาเยี่ยมสักที Blogที่อัพเดตบ่อยสุดคือBlogในกลุ่มการเมือง
กลุ่มหิ้งชั้นการ์ตูนหัวข้อรายชื่อการ์ตูนออกใหม่รายเดือนในไทย
และรายชื่อการ์ตูนออกใหม่ที่ญี่ปุ่นในตอนนี้

ช่วงที่มีงานมหกรรมและสัปดาห์หนังสือแห่งชาติประจำครึ่งปี(ทวิมาส)จะมีการอัพเดตBlogในกลุ่มห้องสมุดรวมสาระอุดมปัญญา
และหิ้งชั้นการ์ตูนของกรรมกรกระทู้


Hall of Shame กรรมกรมีความภูมิใจที่ต้องขอประกาศหน้าหัวนี่ว่า บุคคลผู้มีนามว่า ปากกาสีน้ำ......เงิน หรือ กลอน เป็นขาประจำWeblogแห่งนี้ที่เสพติดBlogการเมืองและใช้เหตุวิบัติอ้างเจตนาในความเกลียดชังแม้วเหลี่ยมและความเห็นใจในสถาบัน เบี่ยงประเด็นในการแสดงความเห็นเป็นนิจ ขยันขันแข็งแบบนี้เราจึงขอขึ้นทะเบียนเขาคนนี้ในหอเกรียนติคุณมา ณ ที่นี้ จึงประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน

Group Blog
นิยายดองแต่งแล่นบันทึกการเดินทางของกรรมกรกระทู้คำทักทายกับสมุดเยี่ยมพงศาวดารมหาอาณาจักรบอร์ดพันทิพย์สาระ(แนว)วงการการ์ตูนมารยาทในสังคมออนไลน์ที่ควรรู้แจกCDพระไตรปิฎกฟรีรวมเนื้อเพลงดีๆจากดีเจกรรมกรกระทู้รวมแบบแผนชีวิตของกรรมกรกระทู้ชั้นหิ้งการ์ตูนของกรรมกรกระทู้ภัยมืดของโลกออนไลน์เรื่องเล่าในโอกาสพิเศษห้องสมุดรวมสาระอุดมปัญญาของกรรมกรกระทู้กิจกรรมของกรรมกรกระทู้กับInternetคุ้ยลึกวงการบันเทิงโทรทัศน์ตำราพิชัยสงครามซุนวูแฟนพันธ์กูเกิ้ลหน้าสารบัญคลังเก็บรูปกล่องปีศาจ(ขอPasswordได้ที่หลังไมค์)ลูกเล่นเก็บตกจากเน็ตสาระเบ็ดเตล็ดรู้จักกับงานเทคนิคการแพทย์ของกรรมกรรวมภาพถ่ายโดยช่างภาพกรรมกรรวมกระทู้ดีๆการเมือง1กรรมกรกับโรคAspergerรวมกระทู้ดีๆการเมือง2ความเลวของสื่อความเลวของพรรคประชาธิปัตย์ความเลวของอำมาตย์ศักดินาข้อมูลลับส่วนตัวกรรมกรที่ไม่สามารถเผยได้ในการทั่วไปข้อเท็จจริงเกี่ยวกับวัดพระธรรมกายรวมบทความเกี่ยวกับเศรษฐกิจการเงินเจาะฐานการเมืองท้องถิ่น

ถึงผู้ที่ต้องการขอpasswordกล่ิองปีศาจหรือFollowing Userใต้ดินเพื่อติดตามข่าวการอัพเดตกล่องปีศาจและดูpasswordมีเงื่อนไขว่ากรุณาแจ้งอายุ ระดับการศึกษาหรืออาชีพการงาน และอำเภอกับจังหวัดของภูมิลำเนาที่คุณอยู่ เป็นการแนะนำตัวท่านเองตอบแทนที่ผมก็แนะนำตัวเองในBlogไปแล้วมากมายกว่าเยอะ อีกทั้งยังเก็บรายชื่อผู้เข้ามาเยี่ยมGroup Blogนี้ไปด้วย
ถ้าอยากให้คำร้องขอpasswordหรือการFollowing Userใต้ดินผ่านการอนุมัติขอให้อ่านBlogข้างล่างนี่นะครับ
ข้อแนะนำการเขียนProfileส่วนตัว

อยากติดตั้งแถบโฆษณาแนวนอน ณ ที่ตรงนี้จังเลยพับผ่าสิเมื่อไหร่มันจะยอมให้ใช้Script Codeได้นะเนี่ย เพราะคลิกโฆษณาที่ได้มาตอนนี้ได้มาจากWeblogของผมที่Exteen.comซึ่งทำได้2-4คลิกมากกว่าที่นี่ซึ่งทำได้แค่0-1คลิกซะอีก ทั้งๆที่ยอดUIPที่นี่เฉลี่ยที่400กว่าแต่ของExteenทำได้ที่200UIP ไม่ยุติธรรมเลยวุ้ยน่าย้ายฐานจริงๆพับผ่า
เนื่องจากพี่ชายของกรรมกรแนะนำW​eb Ensogoซึ่งเป็นWebขายDeal Promotion Onlineสุดพิเศษ ซึ่งมีอาหารและของน่าสนใจราคาถูกสุดพิเศษให้ได้เลือกกัน ใครสนใจก็เชิญเข้ามาลองชมดูได้ม​ีของแบบไหนที่คุณสนใจบ้าง
ประวัติศาสตร์ของGoogle.Com

กูเกิล (Google Inc.) (แนสแด็ก: GOOG และ LSE: GGEA) เป็นบริษัทมหาชนอเมริกัน มีรายได้หลักจากการโฆษณาออนไลน์ที่ปรากฏในเสิร์ชเอนจินของกูเกิล อีเมล แผนที่ออนไลน์ ซอฟต์แวร์จัดการด้านสำนักงาน เครือข่ายออนไลน์ และวิดีโอออนไลน์ รวมถึงการขายอุปกรณ์ช่วยในการค้นหา กูเกิลสำนักงานใหญ่ที่รู้จักในชื่อกูเกิลเพล็กซ์ตั้งอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีพนักงาน 16,805 คน (31 ธันวาคม 2550) โดยกูเกิลเป็นบริษัทอเมริกันที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีดาวโจนส์ (ข้อมูล 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550)
ดดยGoogleเปิดการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพิ่มมูลค่าของบริษัท 1.67 พันล้านเหรียญสหรัฐ และหลังจากนั้นทางกูเกิลได้มีการขยายตัวตลอดเวลาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่และการซื้อกิจการอื่นรวมเข้ามา กูเกิลได้ถูกจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่น่าทำงานมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยนิตยสารฟอร์จูน ซึ่งมีคติพจน์ประจำบริษัทคือ Don't be evil อย่างไรก็ตามทางบริษัทได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในด้านการละเมิดข้อมูลส่วนตัว การละเมิดลิขสิทธิ์ และการเซ็นเซอร์ในหลายส่วน

ประวัติของ Google มีส่วนคล้ายคลึงกับ Microsoft เพราะก่อเกิดจากมันสมองของเพื่อนนักศึกษาร่วมสถาบันเดียวกัน ผู้ที่มีส่วนสถาปนา Google.Com เป็นนักศึกษาคอมพิวเตอร์แห่งมหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด 2 คน ได้แก่ เซอร์ไก บริน (Sergey Brin) และลาร์รี่ เพจ (Larry Page) ซึ่งชอบถกเถียงและแสดงความเห็นเกี่ยวกับการขุดเจาะข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาล และพบว่าการนับจำนวนเชื่อมต่อไปยังหน้าต่างในเว็ปทำให้จัดลำดับหน้าเว็ปเหล่านั้นตามอันดับความนิยม
ในสมัยนั้นโปรแกรมค้นหาเป็นของใหม่และน่าตื่นเต้นมากในยุคนั้น แต่ยังมีประสิทธิภาพไม่ดี มักจะค้นหาได้เว็ปไซท์แปลกๆไม่ค่อยตรงประเด็น ทั้งคู่จึงคิดว่าควรมีเว็ปไซท์ที่สามารถค้นหาได้ตามความต้องการของผู้ที่ต้องการค้นหาจึงได้ปรับแต่งแล้วสร้างโปรแกรมค้นหาต้นแบบ ปรากฏว่าได้รับคำขอให้ค้นหามากกว่า10000รายต่อวัน
ขณะนั้นอายุเพียง 21 ปี ทั้งสองร่วมกันสร้าง Search Engine ในปี 2538 โดยในตอนแรกตั้งชื่อว่า Back Rub ตามความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลการลิงก์ย้อนกลับไป (back links) เพื่อวิเคราะห์ความสำคัญของแต่ละเว็บไซต์ โดยเว็บไซต์ที่มีเว็บไซต์อื่นลิงก์เข้ามาหามากที่สุด จะเป็นเว็บไซต์ที่มีความสำคัญสูงสุด และจะถูกจัดอันดับไว้ดีกว่า โดยทั้งคู่ได้ทดสอบเสิร์ชเอนจิน โดยใช้เซิร์ฟเวอร์ของมหาวิทยาลัยสแตนพอร์ดในชื่อโดเมนว่า google.stanford.edu ห้องพักในมหาวิทยาลัยของคนทั้งสองถูกแปรสภาพเป็นสำนักงาน ห้องพักของเพจซึ่งรับหน้าที่ฝ่ายผลิตภัณฑ์เป็นศูนย์สารสนเทศ ส่วนห้องพักของบรินซึ่งรับหน้าที่ฝ่ายเทคโนโลยีเป็นสำนักงานธุรกิจ

ต่อมาได้ย้ายสำนักงานไปยัง Menlo Park มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ในที่สุดเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2541 Google.com ก็ถือกำเนิดขึ้น ณ ที่ซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นอู่ซ่อมรถ ด้วยเงินลงทุน 1 ล้านดอลลาร์อเมริกันที่ระดมจากญาติสนิทและมิตรสหาย
ขณะนั้นมีพนักงาน 4 คนซึ่งรวมบรินและเพจ และชื่อโดเมน google.com ได้ถูกจดทะเบียนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ในขณะเดียวกันทั้งคู่ได้ลาพักการเรียน และใช้เวลาในการพัฒนาหาเงินทุนพัฒนาจากครอบครัว เพื่อนฝูง และนักลงทุน เป็นจำนวนเงินกว่า 1.1 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งรวมถึงเช็กเงินจาก แอนดี เบกโทลไชม์ ผู้ก่อตั้งซันไมโครซิสเต็มส์
เพียงพิมพ์คำที่ต้องการค้นหาลงไปGoogle Botจะดึงข้อมูลที่เราต้องการเข้าไปในฮาร์ดดิสต์แล้วเครื่องคอมพิวเตอร์กว่า200เครื่องก็วิเคราะห์หน้าเว็ปที่เข้ามาเชื่อมต่อโดยนับทุกหน้า ทุกคะแนน จัดอันดับอย่างละเอียด จากนั้นศูนย์ข้อมูลลับของGoogle5แห่งจะปิดการประมวลผลทีละศูนย์แล้วจัดลำดับใหม่ก่อนจะออนไลน์ต่อไป ภายในเวลาไม่ถึงนาที

ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2542 บริษัทได้ย้ายไปยังเมืองแพโลอัลโทที่ตั้งของบริษัทคอมพิวเตอร์หลายแห่ง ซึ่งต่อมากูเกิลได้ย้ายบริษัทอีกครั้งไปยังเมืองเมาน์เทนวิว ไปยังสำนักงานใหม่ในชื่อเล่นว่ากูเกิลเพล็กซ์ ซึ่งในปี 2543 กูเกิลได้เปิดธุรกิจในส่วนโฆษณาในชื่อ แอดเวิรดส์ และ แอดเซนส์ โดยเป็นการโฆษณาผ่านคำค้นหา ซึ่งทำให้ข้อความโฆษณาตรงกับความต้องการของผู้ค้นหาเนื้อหาในเว็บไซต์ และสองส่วนนี้กลายมาเป็นธุรกิจหลักของกูเกิลร่วมกับตัวเสิร์ชเอนจิน

เดือนพฤษภาคม 2543 กูเกิลได้มีผู้ใช้งานค้นหาคำมากกว่า 18 ล้านคำต่อวัน ซึ่งกลายมาเป็นเซิร์ชเอนจินอันดับหนึ่งของโลก และในเดือนมีนาคม 2544 เอริก ชมิดต์ อดีตผู้บริหารบริษัทโนเวลล์ และผู้บริหารระดับสูงของซันไมโครซิสเต็มส์ได้เข้ามาร่วมงานกับกูเกิลในตำแหน่งประธานบริหาร

Google เติบโตอย่างรวดเร็ว ผงาดขึ้นเป็น Search Engine ยอดนิยมภายในชั่วเวลาเพียง 5 ปี ปัจจุบันมีเหล่ามนุษย์บนพื้นพิภพนับร้อยล้านคนที่ใช้บริการของ Google.com เฉลี่ย 200 ล้านครั้งต่อวัน ซึ่งความนิยมที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนี้เป็นผลมาจากความรวดเร็วในการให้ข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการ และความเที่ยงตรงของข้อมูลที่ให้

ในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ได้เปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชน โดยมีจำนวนหุ้นทั้งหมด 19,605,052 หุ้นที่ราคา 85 เหรียญสหรัฐต่อหุ้น โดย 14,142,135 หุ้น (อ้างค่าทางคณิตศาสตร์ √2 ≈ 1.4142135) ได้มีการเปิดขายแก่ประชาชนโดยกูเกิล และ 5,462,917 โดยผู้ถือหุ้นขาย หุ้นของกูเกิลในช่วงขายหุ้นครั้งแรกนี้มีมูลค่าเพิ่มขึ้นสูงขึ้นมากกว่า 200% ในช่วงปิดตลาดหุ้นของวันแรกที่ได้ประกาศ (เปรีบเทียบกับ ไป่ตู้ เสิร์ชเอนจินของประเทศจีน มูลค่าเพิ่มขึ้น 354% ในช่วงปิดตลาดวันแรก วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2548) และในวันที่ 31 ตุลาคม 2550 หุ้นกูเกิลได้ขึ้นไปสูงถึงราคา 700 เหรียญสหรัฐ
กูเกิลอยู่ในตลาดหุ้นแนสแด็ก ในชื่อสัญลักษณ์ GOOG และในตลาดหุ้นลอนดอนในสัญลักษณ์ GGEA

ตั้งแต่ปี 2544 กูเกิลได้เริ่มมีการซื้อบริษัทที่มีการพัฒนาในด้านเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์เข้ามา ตัวอย่างบริษัทและผลิตภัณฑ์ที่มีการซื้อได้แก่ บล็อกเกอร์พัฒนาโดยไพราแล็บส์แพลตฟอร์มสำหรับให้บริการเขียนบล็อก ปีกาซาที่พัฒนาโดยไอเดียแล็บซอฟต์แวร์สำหรับดูไฟล์ภาพและวิดีโอ คีย์โฮลพัฒนาโดยบริษัทคีย์โฮลซอฟต์แวร์สำหรับดูภาพถ่ายผ่านดาวเทียมและภาพถ่ายทางอากาศ ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกูเกิลเอิร์ธ เออร์ชินเว็บแอปพลิเคชันในการวิเคราะห์สถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์ ซึ่งปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นแอนะลิติกส์ ไรต์รีเว็บแอปพลิเคชันสำหรับสร้างเอกสารสำนักงานออนไลน์ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของด็อกส์ สเก็ตช์อัปพัฒนาโดยแอตแลสต์ซอฟต์แวร์สำหรับวาดภาพสามมิติ ยูทูบเว็บไซต์ให้บริการแชร์วิดีโอออนไลน์ จอตสปอตเว็บไซต์สำหรับสร้างเว็บไซต์แนววิกิปัจจุบันใช้ชื่อไซตส์ ดับเบิลคลิกบริษัทให้บริการโฆษณาออนไลน์ ไจกุเครือข่ายสังคมออนไลน์

ตั้งแต่ปี 2548 กูเกิลได้เริ่มมีการร่วมมือกับบริษัทอื่นและหน่วยงานรัฐบาลในการพัฒนาผลิตภัณฑ์มากขึ้น โดยกูเกิลได้ร่วมมือกับศูนย์วิจัยนาซ่าเอมส์ ในด้านการวิจัยระบบจัดการข้อมูล เทคโนโลยีนาโน และการสำรวจอวกาศ กูเกิลยังได้จับมือกับซันไมโครซิสเตมส์โดยได้แบ่งข้อมูลเพื่อใช้ในการวิจัย[9] กูเกิลได้ร่วมมือกับเอโอแอลของไทม์วอร์เนอร์ในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบค้นหาวิดีโอออนไลน์ นอกจากนี้ทางบริษัทได้มีการลงทุนในส่วนของรหัสโดเมนบสุด .mobi ร่วมมือกับหลายบริษัทได้แก่ ไมโครซอฟท์ โนเกีย อีริกสัน

Google ก้าวล่วงออกจากธุรกิจ Search Engine และก้าวล้ำเข้าสู่ Software Industry โดยที่ระหว่างนั้น Microsoft ก็จับตามองการเติบโตของ Google ด้วยอาการเกรงขาม เพราะ Google กำลังถีบตัวขึ้นมาเป็นคู่แข่งของ Microsoft และแล้วเมื่อวันที่ 29 เมษายนที่ผ่านมา Google ได้เริ่มบทใหม่ กลายเป็นบริษัทมหาชน หลังจากยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สหรัฐ เพื่อเปิดขายหุ้นมูลค่า 2,700 ล้านดอลลาร์ โดยแต่งตั้งให้มอร์แกน สแตนเลย์ และเครดิต สวิส เฟิร์ส บอสตัน เป็นผู้รับประกัน เป็นการเพิ่มอุณหภูมิของการแข่งขันในตลาดเครื่องมือค้นหาทางอินเทอร์เน็ตให้กลายเป็นสงครามอย่างสมบูรณ์
ส่งผลให้สองWebmasterผู้ก่อตั้ง ติดอันดับมหาเศรษฐีในนิตยสารForbs ด้วยมูลค่าทรัพย์และหุ้นที่ถือครองกว่า1พันล้านเหรียญสหรัฐ
ปัจจุบันอาณาจักรGoogleplexเป็นอาคารสำนักงานทันสมัยในรัฐแคลิฟอร์เนีย ตกแต่งสวยงามด้วยโคมไฟหลอดแก้วและลูกบอลออกกำลังกายขนาดใหญ่ มีพนักงานกว่า300คน บรรยากาศในสำนักงานเป็นไปอย่างสบายๆเหมือนบริษัทไอทีของคนรุ่นใหม่ อาจจะเห็นพนักงานกำลังเล่นสเกตในเวลางานก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะแม้แต่ในออฟฟิสของผู้บริหารหนุ่มผู้ก่อตั้งยังเต็มไปด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ไม้ฮอกกี้ หมวกกันน็อก กล้องถ่ายรูปและของเล่นสารพัด

Google หาได้หยุดแต่เพียงเท่านี้ ยังมีการไล่เปิดตัวบริการใหม่ๆของตัวเองอย่างต่อเนื่อง จนล่าสุดได้ประกาศเปิดตัว Gmail บริการฟรีอีเมล ซึ่งมาพร้อมกับเนื้อที่จัดเก็บข้อมูล 1 กิกะไบต์ และเน้นเบียดแย่งส่วนแบ่งตลาดจากธุรกิจอีเมลของ Yahoo และ Microsoft

วันที่ :2004-09-16 13:41:53
รูปสองWebmaster Google
Larry Page (ซ้าย) และ Sergey Brin(ขวา)


ข้อมูลโดยคุณWebMonsterแห่งyenta4.com
และคนมันดอทคอม
และจากบทความโลกใกล้แค่ปลายนิ้ว เขียนโดยJohn Dyson ลงนิตยสารReader Digest ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2547

จุดเริ่มต้นของเรื่องนี้อยู่ที่ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) อีกหนึ่งสุดยอดแห่งมหาวิทยาลัยด้านไอที (จริงๆแล้ว Stanford ก็จัดว่าเป็นอันดับต้นๆของโลกในสาขาอื่นๆอีกมากมาย ด้วยเช่นกัน) มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นอกจากจะเป็นต้นกำเนิดของสุดยอด 2 ไอเดียออนไลน์ระดับโลกอย่าง Yahoo! และ Google แล้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้ๆกันอยู่ด้วยซ้ำไป ที่นี่เป็นที่ที่ คุณ John von Neuman (จอห์น วอน นูแมน) คิดและประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มีสถาปัตยกรรมที่เหมือนกับที่เราใช้อยู่นี่แหล่ะ เป็นคนแรกของโลก (แม้จะไม่ใช่คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกก็ตาม – สับสนมั้ยครับ – คืออย่างงี้ครับ คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกชื่อว่า ENIAC ซึ่งเป็นเครื่องที่มีความซับซ้อนสูง ต่อมาคุณ von Neuman ซึ่งก็ช่วยงานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ENIAC อยู่ด้วย แกเสนอว่า เราน่าจะแยกส่วนของคอมพิวเตอร์ออกเป็น หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยรับเข้าและส่งข้อมูล ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมที่แตกต่างจากคอมพิวเตอร์เครื่องแรก และเป็นสถาปัตยกรรมที่เรายังใช้มาอยู่จนในปัจจุบัน หลายสถาบันก็เลยยกย่องให้ von Neuman เป็นบิดาของคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว)
เรื่องก็เริ่มตอนปิดเทอมภาคฤดูร้อนปี 1995 ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้แหละครับ ตอนนั้น Sergey Brin (เซอร์เก บริน) 1 ใน 2 ของผู้ก่อตั้ง กูเกิ้ล เป็นแค่นักเรียนปริญญาเอก ที่กำลังจะขึ้นปี 2 ของภาควิชา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer Science) ธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่อาสาเข้ามาเป็นนักศึกษาช่วยงาน Open House
โดยปกติทุกๆปีในช่วงก่อนเปิดเทอมนี้ มหาวิทยาลัยต่างๆเค้าจะมีการเปิดบ้านต้อนรับผู้มาเยือน เราเรียกว่า Open House (ที่เมืองไทยก็เห็นมีบ้างแล้วหลายมหาวิทยาลัย) คือว่าใครที่สนใจที่จะเรียนในมหาวิทยาลัยไหน คณะไหน ก็จะไปงาน Open House ของที่นั่น ที่จะมีคนมาคอยพาทัวร์ และแนะนำสถานที่ แนะนำคณะ แนะนำ Lab แนะนำครูอาจารย์ เป็นปกติเหมือนทุกๆปี แต่ปีนี้เองพระเอกคนที่สองของเรา คือคุณ Larry Page (ลาร์รี่ เพจ) ก็โผล่มาในงาน Open House ในปีนี้ หลังจากได้ดีกรี วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน (Michigan University) มา
อีก 2-3 เดือนถัดมา มหาวิทยาลัยก็เปิดเทอมครับ Page ก็เข้ามารายงานตัว และเลือก Prof. Terry Winograd ผู้ X วชาญด้านการโต้ตอบระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา และก็เริ่มมองหาหัวข้อวิทยานิพนธ์พ่อของ Larry Page (ขณะนั้นเป็นอาจารย์ด้าน Computer Science อยู่ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน) บอกว่า Thesis ปริญญาเอก จะเป็นเหมือนกรอบ ที่จะคอยกำหนดอนาคต ด้านวิชาการของเราไปทั้งชีวิต ก่อนจะตัดสินใจเลือกทำให้ไตร่ตรองให้ดี ทำให้ Page ใช้เวลาอยู่นานในการเลือกหัวข้อทำวิทยานิพนธ์ หลังจากลองนึกๆดูสิบกว่าเรื่อง สุดท้ายก็มาลงที่เรื่อง World Wide Web นี่เอง
และแล้วจุดเริ่มต้นของไอเดียเล็กๆ ก็กลายเป็นไอเดียที่เปลี่ยนโลกอินเตอร์เน็ตทั้งใบ จุดกำเนิดของยักษ์ใหญ่ในวงการซอฟท์แวร์อีกตน ก็เริ่มขึ้นที่นี่
Page เริ่มหัวข้อวิจัยเกี่ยวกับเว็บก็จริง แต่ไม่ได้เริ่มมองหาวิธีที่จะค้นหาข้อมูลบนเว็บ แต่สิ่งที่เค้ามองเห็นกลับเป็น มุมมองทางด้านคณิตศาสตร์ของเว็บไซท์มากกว่า Page มองแบบนี้ครับ ถ้าหากมองว่า 1 เซอร์ฟเวอร์ หรือ 1 เว็บไซท์

ซึ่งตรงนี้แหละที่ Page มองแล้วเห็นว่ามันช่างน่าตื่นเต้น น่าสนใจ น่าติดตาม เสียเหลือเกิน Page เคยบอกว่า Internet คือ กราฟที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้น และมันก็ยังจะเติบโต ใหญ่ขึ้น ใหญ่ขึ้น ทุกๆวัน ด้วยอัตราเร็วในการเติบโตสูงมาก โอ! มันช่างเป็นเรื่องที่น่าสนใจทำวิทยานิพนธ์เหลือเกิน (ถ้าเป็นคนสามัญชนคนไทยธรรมดา ก็อาจจะบอกว่า โอ! มันซับซ้อนเหลือเกิน ไม่มีทางทำได้หรอก ทำไปเดี๋ยวไม่จบ หนีดีกว่า) ซึ่ง Prof. Winograd อาจารย์ที่ปรึกษาของเค้าก็เห็นด้วย และเห็นว่า น่าจะศึกษาเรื่องของโครงสร้างของกราฟของเว็บเป็นการเริ่มต้นวิทยานิพนธ์
Page ทำการศึกษาด้วยตัวเองอยู่ไม่นาน เค้าก็เจอปัญหาแรกเข้าให้...

ในกราฟปกติ ขอบของกราฟ (Edge) จะเป็นตัวบ่งถึงความสัมพันธ์กันระหว่าง จุด (Vertrix) ซึ่งโดยปกติแล้ว เราจะรู้และนับจำนวนได้ว่า จากจุดจุดหนึ่ง มีขอบ หรือ เส้นลากไปยังจุดอื่นๆ อีกกี่จุด และมีกี่จุดที่ลากมาหาตัวเอง

แต่หน้าเว็บเพจกลับไม่เป็นแบบนั้นซะทีเดียว เพราะ ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆ (สมมติว่าเว็บ 1 หน้าเป็น 1 จุดในกราฟ) เรารู้ครับว่า จากจุดที่เราอยู่ปัจจุบัน มันลิงค์ไปยังหน้าไหนบ้าง คือ เรารู้ว่ามันมี ขอบที่วิ่งออกไป (Out Degree) จากตัวเองกี่จุด และไปที่ไหนบ้าง แต่ที่เราไม่รู้นี่คือว่า มีเว็บเพจใดบ้าง กี่หน้า ที่ลิงค์มาหาหน้าที่เราสนใจ ลองนึกตามแบบนี้นะครับ ว่าหน้าเว็บที่คุณอ่านอยู่ตอนนี้เนี่ย ลิงค์มาจากหน้าไหน URL อะไรบ้าง มีข้อมูลตรงไหนบอกมั้ยครับ ถ้าคุณไม่กด Back แม้คุณกด Back คุณก็รู้แค่ลิงค์เดียวที่ลิ๊งค์มาหาหน้านี้ แต่ที่จริง อาจจะมีหน้าเว็บอื่นอีกเป็นร้อยๆ ที่มีลิ๊งค์มาหาหน้านี้ คำถามคือ แล้วเราจะรู้ได้ยังไง ?

ซึ่งตรงนี้หล่ะยาก เพราะอินเตอร์เน็ตไม่ได้ให้ข้อมูลนี้มา และตรงนี้เองที่ Page คิดว่า มันน่าจะดี ถ้าหากว่าเรารู้ ว่าใครลิงค์หาใครบ้าง หรือ มีใครลิงค์มาหาหน้านี้บ้างกี่คน Page ก็เลยเลือกเอาปัญหานี้ มาทำเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก และตั้งชื่อเล่นโปรเจ็คของเค้าว่า "BackRub
Page เริ่มที่จะคิดว่า เราจะทำไงถึงจะรู้ว่า ลิงค์ใดบ้างที่ลิงค์มายังเว็บหนึ่งๆ หลังจากที่ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้ไม่นาน(ไม่กี่เดือน) Page ก็พบว่า จริงๆแล้ว เรื่องของการลิงค์ไปลิงค์มาของเอกสารนี่ มีกันมานานแล้วในวงการวิชาการ
ผลงานวิชาการ นั่นเอง คือโดยปกติแล้ว หากนักวิชาการท่านใด คิดทฤษฎีอะไรออกมาได้ใหม่ๆ หรือค้นพบอะไรใหม่ หรือต้องการจะแก้ไขสิ่งที่มีอยู่แล้ว ก็จะทำการตีพิมพ์ผลงานของตนเองในวารสารวิชาการ (Journal) โดยจะต้องอ้างอิงถึงที่มาของความรู้ หรือ ผลงานที่มีมาก่อนของคนอื่น หรือที่ใกล้เคียง ก็เพื่อให้องค์ความรู้ใหม่ที่ตีพิมพ์ มีรากฐานจากองค์ความรู้ ที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว (ตีพิมพ์แล้ว) นั่นเอง

ดังนั้น ผลงานวิชาการ ไหนที่ได้รับการอ้างถึง (Citation) บ่อยๆ จาก นักวิชาการคนอื่นๆ แสดงว่า ผลงานวิชาการชิ้นนั้นได้รับการยอมรับอย่างจริง ในวงการวิชาการเรามีตัวชี้วัดกันเลยว่า ผลงานหนึ่งๆ มีการถูกอ้างถึงมากน้อยเพียงใด เราเรียกดัชนีตัวนี้ว่า Citation index ซึ่งการอ้างอิงด้านวิชาการถือเป็นเรื่องใหญ่ ใหญ่ขนาดไหนครับ ก็ใหญ่พอที่จะมีวิชาที่ว่าด้วยเรื่องนี้โดยเฉพาะเลย คือวิชา bibliometrics
ตอนที่ Tim Berners-Lee (ตอนนี้ได้รับการแต่งตั้ง เป็น Sir Tim Berners-Lee เรียบร้อยแล้ว) วิศวกรอิสระของ CERN คิดค้น World Wide Web ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก
คุณ Tim แกก็คิดว่า เราน่าจะมีวิธีที่ละลิงค์ผลงานวิชาการของนักวิชาการเข้าด้วยกันเลย ไม่ต้องมานั่งกำหนดรูปแบบที่ยุ่งยาก (เหมือนที่เห็นในกรอบด้านบน) คุณ Tim ก็เลย คิดเรื่องของ Hypertext ขึ้นมา แต่สิ่งที่ Page กำลังทำเป็นการ Reverse Engineer ของ //www.เพราะเค้าต้องการค้นหาถึงที่มา ต้นตอของเอกสารที่ลิงค์กันนั่นเองแน่นอนว่า กราฟที่เค้าจะสร้างขึ้น จะมีความซับซ้อนสูง และการคำนวนจำนวนลิงค์ ที่เชื่อมหากันก็ทำได้ยาก เนื่องจากกราฟมีการเจริญเติบโตเรื่อยๆ เพราะความซับซ้อนของข้อมูลสูง ดังนั้นสูตรการคำนวณเพื่อให้คะแนนแต่ละหน้า ก็จะมีความซับซ้อนด้วย ตรงนี้นี่เอง ที่ทำให้ Brin กระโดดเข้ามาในโปรเจ็คนการสร้างกราฟของอินเตอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ เป็นจุดเริ่มให้ Page เขียนโปรแกรมเล็กๆ ประเภท Crawler ขึ้นมาตัวหนึ่ง ในห้องนอน ตอนที่ Page เริ่มเขียน crawler นี่ จำนวนหน้าเว็บทั่วโลกก็มีอยู่ประมาณ 10 ล้านหน้าเห็นจะได้ แต่จำนวนลิงค์ที่เชื่อมกันอยู่นี่คงนับไม่ถ้วน โดยหวังจะให้เจ้า Crawler ไต่ไปเก็บข้อมูลมาสร้างเป็นกราฟโดยอัตโนมัติ ในตอนนั้น เค้าอาจจะยังไม่รู้หรอก ว่าโปรแกรมเล็กๆที่เค้าเริ่มเขียนในห้องนอน จะเป็นสิ่งที่ประสบความสำเร็จที่สุดในโลก ต่อจาก Internet ....
และแล้ว ในเดือนมีนาคม 1996 (เพียงแค่ไม่ถึงปีจากที่เค้าเริ่มศึกษา) Page ก็ปล่อยเจ้า crawler ตัวแรกให้เริ่มทำงาน โดยไต่จากหน้าเว็บเพจของเค้าเอง ที่อยู่บนเว็บไซท์มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เจ้า crawler เวอร์ชั่นแรกของ Page ไต่ไปตามเว็บเพื่อเก็บแค่ ชื่อเว็บ และ ข้อมูลใน header เท่านั้นเอง แต่ก็ถือว่าเป็นจุดเิริ่มอย่างเป็นรูปธรรมของ Google (ที่ในปัจจุบันกลายเป็น ซุปเปอร์อภิมหาอมตะนิรันดร์กาล crawler ไปแล้ว เพราะมันไต่ไปเก็บข้อมูลทุกอย่าง ของทุกหน้าเว็บ) เพราะตอนนั้นขืนเก็บทุกอย่าง ทรัพยากรของระบบ เช่น memory หรือ ฮาร์ดดิสต์ ที่จะต้องใช้ในการจัดการกับข้อมูลเหล่านี้ ก็คงต้องมีขนาดใหญ่มหึมา และมันก็มากเกินกว่าจะเป็นโปรเจ็คของเด็กนักเรียนคนนึง
Page และ Brin ได้ร่วมกันคิดหาสูตร หรือ วิธีคำนวณว่า จะให้คะแนนแต่ละหน้าเว็บเพจอย่างไรดี เว็บเพจหนึ่งหน้า ถ้ามองให้ดีมันก็เป็นเหมือนผลงานวิชาการชิ้นนึง ภายในผลงานวิชาการนี้ ก็จะมีการอ้างอิงผลงานคนอื่น (หรือลิงค์ไปหาคนอื่นนั่นเอง)
ภายหลังเค้าตั้งชื่อเล่นระบบคิดคะแนนของเค้า ว่า Pagerank (ซึ่งล้อคำ 2 ความหมาย คำแรกคำว่า Page หมายถึงได้ทั้งหน้าเว็บ หรือ หมายถึงชื่อของเค้าเอง) ซึ่งก็ล้อเลียนการคิดคะแนนมาจากการอ้างอิงกันของผลงานวิชาการ เพราะเค้ารู้ว่า การอ้างอิงกันของเอกสารทำอย่างไร มีการให้คะแนน Citation Index อย่างไร และเค้าก็ได้เพิ่มเรื่องของการให้และลดคะแนนพิเศษด้วย หากว่าลิงค์ที่ลิงค์มาหาหน้าใดหน้าหนึ่ง เป็นลิงค์ที่มีคะแนนสูง เป็นเว็บที่มีความน่าเชื่อถือ เว็บที่ถูกลิงค์ ก็จะย่อมได้คะแนนสูงด้วย และหากนำเว็บมาเรียงลำดับกัน เว็บที่ได้คะแนนสูงกว่า ก็จะอยู่ลำดับต้นๆ ส่วนเว็บที่มีคะแนนต่ำก็จะอยู่ท้ายๆ
หลังจากทดลองปรับแต่ง Backrub ให้กลายเป็น โปรแกรม Search engine ทำการค้นหาข้อมูล บนหน้าเว็บหน้าใดหน้าหนึ่ง
เค้าพบว่าผลการค้นหา ดีกว่า search engine ที่มีอยู่ในตอนนั้น เช่น AltaVista หรือ Excite มาก โดย Search Engine ที่มีอยู่นั้นมักจะให้ผลการค้นหา ที่ไม่ค่อยจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการหาจริงๆ เพราะอาศัยเพียงแค่การจับคู่คำ ไม่คำนึงถึงสัญญาณ หรือข้อมูลอื่นๆที่ใกล้เคียง search engine ใหม่ของพวกเค้า ไม่เพียงว่าผลการค้นหาจะดี แต่ ระบบการให้คะแนนนี้จะดีขึ้นเรื่อยๆ เมื่อเว็บโตขึ้นเรื่อยๆ กราฟของเว็บโตขึ้นเรื่อยๆ ผลการค้นหาก็จะดีขึ้นเรื่อยๆ เพราะจะมีตัวให้คะแนนซึ่งกันและกัน เยอะขึ้น ตรงนี้นี่เองที่ ทั้ง Brin และ Page รู้ว่าเค้า สะดุดขุมทรัพย์ มหึมาเข้าให้แล้ว...

และแล้ว โปรเจ็ค search engine โดยนักศึกษา 2 คน ... ก็เริ่มเป็นรูปร่างที่ชัดเจน ...

ทั้งสองคนจึงตั้งชื่อ search engine ตัวใหม่ของเค้าว่า Google ที่เพี้ยนมาจากคำว่า googol (ที่แปลว่า เลข หนึ่ง ตามด้วย ศูนย์ 100 ตัว - สังเกตุสัญลักษณ์ของ Gooooooooooooooooooooogle)
Google เวอร์ชั่นแรก ถูกปล่อยออกสู่สาธารณะชน ไว้บนเว็บของมหาวิทยาลัย Stanford เป็นครั้งแรก ตอนเดือนสิงหาคม 1996 - เพียง 1 ปี หลังจากที่ทั้งคู่เจอกันครั้งแรก - เพียงไม่กี่เดือนนับจากเริ่มศึกษาปัญหา - โอ จอร์จ ทำได้ยังไงเนี่ย !!!!! อัจฉริยะจริงๆ !!!!

เครดิตจาก//www.vcharkarn.com

ข้อมูลอย่างละเีอียดเป็นภาษาอังกฤษจากWeb Googleเอง

ประวัติศาสตร์ความเป็นมา
//www.google.com/corporate/history.html

คณะทำงานผู้บริหารของGoogle
//www.google.com/intl/en/corporate/execs.html

ข้อมูลเบื้องต้นทางเทคโนโลยีของGoogle
//www.google.com/intl/en/corporate/tech.html


Create Date : 12 พฤษภาคม 2548
Last Update : 9 กันยายน 2553 4:12:57 น. 31 comments
Counter : 1101 Pageviews.

 
ขอบคุณคับ


โดย: ไข่เหลิม (ไข่เหลิม ) วันที่: 12 พฤษภาคม 2548 เวลา:21:07:46 น.  

 
^^


โดย: KoPoK วันที่: 12 พฤษภาคม 2548 เวลา:21:29:03 น.  

 
เพิ่งรุ้นะเนี่ย ขอบคุงที่ให้ควางรุ้


โดย: s_manavvan วันที่: 25 ตุลาคม 2548 เวลา:10:37:15 น.  

 
สุดยอดครับ


โดย: krusorncom IP: 203.153.174.166 วันที่: 15 มกราคม 2549 เวลา:6:13:37 น.  

 
ขอบคุณค่ะ


โดย: Bee (coffeebee ) วันที่: 20 กุมภาพันธ์ 2549 เวลา:18:25:51 น.  

 
นตท.ภาดา รัตนพันธุ์ ชั้นปีที่๑ ตอน๑๘ หมู่๓ หมวด๓ ร้อย๓ พัน.นร.๑ ขอบอกว่าถ้าไม่มีพี่ผมคงจะไม่มีงานส่งครับ


โดย: นตท.ภาดา รัตนพันธุ์ IP: 203.151.140.118 วันที่: 18 สิงหาคม 2549 เวลา:20:53:56 น.  

 
พี่ขรา ใช่พี่ป่าวคะ ที่เคยลงวิธีค้นหาแบบ ถึงรากถึงโคนไว้อ่ะค่ะ

เคยเซฟไว้ แต่ล้างเครื่องมันหายไปแว้วอ่า

ที่ต้องพิมพ์คำสั่งพิเศษประมาณว่า
index of ? mp3 ไรประมาณนี้ แบบจะหาเพลงอ่าค่า

ถ้าพี่จำได้ พี่ช่วยส่งมาตามเมลนี้นะคะ ขอบคุณค่า


โดย: muzimuzister@gmail.com IP: 61.7.139.237 วันที่: 30 กันยายน 2549 เวลา:21:24:24 น.  

 
ก็ดีค่ะ มีขอความกรุณาด้วย


โดย: เอ๋ IP: 58.147.87.114 วันที่: 16 มกราคม 2550 เวลา:22:41:36 น.  

 
เป็นนักฮอกกี้เหมือนกัน ดีอ่ะ


โดย: 543 IP: 124.157.248.40 วันที่: 26 กุมภาพันธ์ 2550 เวลา:14:03:52 น.  

 


โดย: 123 IP: 129.192.196.8 วันที่: 10 มิถุนายน 2550 เวลา:19:19:00 น.  

 
ได้ความรู้ดีครับ


โดย: Nakate IP: 202.44.135.35 วันที่: 2 สิงหาคม 2550 เวลา:10:06:54 น.  

 
ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ


โดย: nat IP: 210.86.207.200 วันที่: 7 สิงหาคม 2550 เวลา:19:56:43 น.  

 
ดีค่ะ


โดย: โบกี้ IP: 203.209.90.193 วันที่: 14 สิงหาคม 2550 เวลา:18:00:24 น.  

 
ขอบคุณคับ


โดย: จารุวัฒน์ IP: 125.27.106.156 วันที่: 5 กันยายน 2550 เวลา:13:20:28 น.  

 
สุดยอด


โดย: '''งง IP: 125.27.228.166 วันที่: 11 กันยายน 2550 เวลา:10:54:31 น.  

 
สดุยาด


โดย: เบียร์ IP: 125.27.228.166 วันที่: 11 กันยายน 2550 เวลา:11:01:26 น.  

 
thx u very much


โดย: ... IP: 124.120.78.91 วันที่: 21 กันยายน 2550 เวลา:12:58:25 น.  

 
ขอบคุณค่ะทุกสิ่งทุกอย่าง


โดย: น้ำ IP: 61.19.65.206 วันที่: 23 กันยายน 2550 เวลา:8:03:49 น.  

 
ว้าวเพิ่งรู้นะเนี่ยขอบคุณค่ะ


โดย: พลอย IP: 203.150.136.173 วันที่: 28 กันยายน 2550 เวลา:20:54:14 น.  

 
ชิชิ...ขอบพระคุณมากค่ะคนเก่ง


โดย: ฟ้า IT business ศิลปากร ปี4 IP: 58.9.154.161 วันที่: 28 กันยายน 2550 เวลา:22:20:01 น.  

 
ยอดเยี่ยมที่สุด ๆๆๆๆๆๆๆๆ


โดย: นุ้ย IP: 203.146.63.183 วันที่: 7 พฤศจิกายน 2550 เวลา:19:59:10 น.  

 
Nice site


โดย: Tik IP: 125.25.134.21 วันที่: 29 พฤศจิกายน 2550 เวลา:10:11:47 น.  

 
เก่งจัง


โดย: domeppc IP: 61.19.65.73 วันที่: 8 มกราคม 2551 เวลา:6:52:19 น.  

 
สวัสดีครับ


โดย: นรสิงห์ IP: 203.172.209.145 วันที่: 9 มกราคม 2551 เวลา:13:31:01 น.  

 
ขอบคุณมากค่ะ


โดย: Hong IP: 203.158.225.188 วันที่: 20 กุมภาพันธ์ 2551 เวลา:12:55:09 น.  

 
เข้ามาดูข้อมูลทำรายงานคะ
ขอ ขอบคุณมากคะ


โดย: palm IP: 124.121.106.219 วันที่: 1 เมษายน 2551 เวลา:22:39:08 น.  

 
ขอบคุณมากคับ สำหรับความรู้ เพราะอยู่ดีดีผมก็อยากรู้ขึ้นมาว่า ใครเป็นคนต้นคิด เว็บ google ขึ้น เลยค้นหาดู อ่ะๆๆ


โดย: นายซิม IP: 125.25.132.157 วันที่: 28 พฤษภาคม 2551 เวลา:10:10:01 น.  

 
กูขี้เกียจอ่านว่ะ


โดย: นายสันเชียงราย IP: 61.7.229.37 วันที่: 12 พฤศจิกายน 2551 เวลา:14:49:17 น.  

 
เป็นคำตอบที่มีคุณค่าทางสมอง และประเทืองปัญญามากเลยค่ะ ขอบคุณนะค่ะที่ให้ข้อมูล (เย้ มีการบ้านส่งอาจารย์แล้ว)


โดย: mootoon IP: 58.181.233.167 วันที่: 20 พฤศจิกายน 2551 เวลา:10:02:06 น.  

 
ขอบคุณผู้สร้างgoogle
มาให้เราประโยชน์สูงสุด


โดย: เกรียงฤทธิ์ IP: 203.114.114.85 วันที่: 3 ธันวาคม 2551 เวลา:14:19:12 น.  

 
เก่งจัง


โดย: 1 IP: 125.27.175.11 วันที่: 24 สิงหาคม 2553 เวลา:20:18:49 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

ไทยวรรษ สีทันดรสมุทร
Location :
กรุงเทพ Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 4 คน [?]









ผม ไทยวรรษ สีทันดรสมุทร
สามัญชนคนเหมือนกัน(All normal Human)
คนจรOnline(ได้แค่ฝัน)แห่งห้วงสมุทรสีทันดร
(Online Dreaming Traveler of Sitandon Ocean)
กรรมกรกระทู้สาระ(แนว)อิสระผู้ถูกลืมแห่งโลกออนไลน์(Forgotten Free Comment Worker of Online World)
หนุ่มสันโดษ(ผู้มีชีวิตที่พอเพียง) นิสัยและความสนใจแปลกแยกในหมู่ญาติพี่น้องและคนรู้จัก (Forrest Gump of the family)
หนุ่มตาเล็กผมสั้นกระเซิงรูปไม่หล่อพ่อไม่รวย แถมโสดสนิทและอาจจะตลอดชีวิตเพราะไม่เคยสนใจผู้หญิงกะเขาเลย
บ้าในสิ่งที่เป็นแก่นสารและสาระมากกว่าบันเทิงเริงรมย์
พร้อมแบ่งปันประสบการณ์ดีๆกับบันทึกในโลกออนไลน์แล้วครับ
กรุณาปรับหน้าจอเป็นขนาด1024*768เพื่อการรับชมBlog
ติดตามการเคลื่อนไหวของกรรมกรผ่านTwitter
และติดตามพูดคุยนำเสนอด้านมืดของกรรมกรผ่านTwitterอีกภาคหนึ่ง
Google


ท่องไปทั่วโลกหาแค่ในพันทิบก็พอ
ติชมแนะนำหรือขอให้เพิ่มเติมเนื้อหาWeblog กรุณาส่งข้อความส่วนตัวถึงผมโดยตรงได้ที่หลังไมค์ช่องข้างล่างนี้


รับติดต่อเฉพาะผู้ที่มีอมยิ้มเป็นตัวเป็นตนเท่านั้น ไม่รับติดต่อทางE-Mailเพื่อสวัสดิภาพการใช้Mailให้ปลอดจากSpam Mailครับ
Addชื่อผมลงในContact listของหลังไมค์
free counters



Follow me on Twitter
New Comments
Group Blog
 
All Blogs
 
Friends' blogs
[Add ไทยวรรษ สีทันดรสมุทร's blog to your web]
Links
 

MY VIP Friend

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.