งาช้าง ของฝากจากแอฟริกา


Preface

ตั้งแต่ปี 2003 เอสโกร่วมกับ กฟผ ส่งคนเข้าไปทำงานที่ซูดานจำนวนมาก เริ่มมีหลายคนหันไปชวนกันซื้องาช้าง  ผมค้นคว้า เขียนMailเป็นภาษาไทย และแปลเป็นภาษาอังกฤษให้คนซูดานอ่านด้วย...


"เป็นข้อเขียนที่เยี่ยมมาก เพื่อน" ตอบกลับจากเพื่อน ที่กำลังเป็นผู้ว่าฯ กฟผ.
         สุทัศน์


I have long been pending to write this matter.
Hoping that, this will be information for us in consideration before buying ivory.
I, as usual, spent many hours search through internet the information for our use.
และผมทิ้งค้างไว้นานมากแล้วที่จะเขียนถึงเรื่องนี้
และหวังว่าจะเป็นข้อมูลให้พวกเราคิดอีกครั้งก่อนจะซื้องาช้าง
เช่นเคย ผมใช้ประโยชน์จาก internet เป็นเวลาหลายชั่วโมงเพื่อให้ข้อมูลนี้กับเรา

I have been upset since first trip toSudan
in hearing our visitors asked what to buy there,
Then answer is ivory.
Some even had intention already to buy ivory there
ผมรู้สึกไม่สบายใจ ตั้งแต่ แรกๆที่ ไปซูดาน
ได้ยินคนที่ไปซูดาน ถามกันว่าซื้ออะไรดีที่นี่
คำตอบที่ได้ยินคือ งาช้าง
บางคนมาก็ตั้งใจมาเลยว่าจะซื้องาช้าง

I remember a documentary shown on TV about hundred thousands of elephants were killed just for their little ivory.
I admit that I was even angry.
But I tried to understand that just may be because we do not have information,
never thought or not realize that it is us who buy ivory who are the murderer.
Or at least are accomplice to real murderers.
Poor elephants that were respectful and once stood in Thai flag.
ผมเองเคยดูสารคดี จำได้ว่าช้างถูกฆ่าตายในแอฟริกามากมาย เพียงเพื่อเอางาของมัน
ผมยอมรับว่ารู้สึกโกรธด้วยซ้ำ
แต่ก็พยายามเข้าใจ บางทีเราก็อาจจะไม่มีข้อมูล
และไม่เคยคิด หรือไม่ทันคิดว่าเราที่ซื้องาช้างนี่แหละ เป็นฆาตกร
หรืออย่างน้อยก็สมคบกับฆาตกรตัวจริงฆ่าช้าง
ช้างที่น่าสงสาร สัตว์ที่คนไทยเราให้ความเคารพ และใส่ไว้ในธงชาติของเราทีเดียว

Elephants are cute.
Many of us accompanied Sudanese to ride
and see the elephant show at Chieng Mai.
We altogether saw how clever they are.
They have helped us since ancient time in peace and wartime.
Probably no one intentionally mean to kill them for ivory.
ช้างเป็นสัตว์น่ารัก
ผม พวกเราหลายคนได้มีโอกาสพาคนซูดานไปขี่ช้าง
ชมการแสดงช้างที่เชียงใหม่
คงเห็นว่าช้างฉลาด
ช้างช่วยงานเรามาแต่ดึกดำบรรพ์ ทั้งยามสงบ และยามรบทัพจับศึก
เราคงไม่มีใครใจดำตั้งใจจะฆ่าช้างเอางาหรอก

Elephants and their ivory have long been in controversy.
Many believe that the animals are dead, they just buy their remains.
Many think that if they do not buy, others wil do anyway.
Some say that they buy ivory of elephants that died naturally.
Some with more knowledge claim that they buy parts of permission to kill elephants.
the last two are reasonable. The question is how many of them,
especially when compare to the illegal and cruel kills.
เรื่องงาช้างเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันทีเดียว
หลายคนคิดว่าช้างก็ตายไปแล้ว เขาเพียงแต่ซื้อส่วนมี่เหลือของมัน
หลายคนคิดว่าถึงเขาไม่ซื้อ คนอื่นก็ซื้อ
บางคนบอกว่าที่เขาซื้อเป็นงาของช้างที่ตายเอง
บางคนที่มีความรู้เรื่องช้างมากขึ้นมาอาจอ้างว่า เป็นงาช้างจากช้างที่ทางการอนุญาตให้ล่า
เพื่อมิให้ช้างมีจำนวนมากเกินไป
แน่นอนอย่างหลังทั้งสองเป็นเรื่องจริง เพียงแต่ว่ามันเป็นจำนวนมากเพียงใด
โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับจำนวนที่แอบล่าอย่างผิดกฎหมาย

Ivory is nothing more than teeth of elephants.
Since former time, human persecute their land
to expand their cultivated land.
We hunted them for food.
That already annihilated the animals
งาช้าง ก็คือฟันของช้างดีๆนี่เอง
ที่ผ่านมา มนุษย์เบียดเบียนที่อยู่อาศัยของช้าง และสัตว์ป่าอื่นๆ
เพื่อขยายที่ทำกิน
ล่าเพื่อเป็นอาหาร
ประดาสัตว์ป่าก็ย่ำแย่จะสูญพันธุ์กันก็มากแล้ว

Just to take their bend long teeth namely ivory
led to hundred thousands kills of this wise animal.
until their population drop sharply.
This is unreasonable,
To take the remains of their teeth by killing them
Just for decoration or products such as piano keys.
And we foolishly admire its.   
แต่ด้วยเหตุที่จะเอาฟันยาวๆงอๆของมันที่เรียกว่างานั้น
ทำให้เกิดการฆ่าสัตว์ใหญ่ที่แสนฉลาดนี้ เป็นแสนๆตัว
จนจำนวนของมันลดวูบลงไปนั้น
ช่างไม่เป็นเหตุผลที่ดีเอาเสียเลย
ที่จะเอาซากของมัน ฟันของมัน โดยต้องฆ่ามัน
มาใช้ตกแต่งร่างกาย หรือทำผลิตภัณฑ์ เช่น คีย์เปียโน
แล้วเราก็หลงไปยกย่องว่าเป็นของดี

Particularly, Thai people
Who many among us avoid killing any lives by being vegetarian,
and present food to monks and donate to temples...
โดยเฉพาะเราชาวไทย
ที่จำนวนมากละเว้นชีวิตสัตว์ โดยกินมังสะวิรัติ
ตักบาตรทำบุญ สุนทาน สร้างวัด....

In this 70 years population of elephant drops to less than 1%  !!
Do not kill elephants by purchasing ivory or related products.
70 ปีมานี้ช้างลดจำนวนลงเหลือไม่ถึง 1% ของที่เคยมี !!
อย่าฆ่าช้างด้วยการซื้องา หรือผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องเลยครับ

More Information read here
ข้อมูลมากขึ้น อ่านตรงนี้
Throughout history, the elephant has played an important role in human economies, religion, and culture. The immense size, strength, and stature of this largest living land animal has intrigued people of many cultures for hundreds of years. In Asia, elephants have served as beasts of burden in war and peace. Some civilizations have regarded elephants as gods, and they have been symbols of royalty for some. Elephants have entertained us in circuses and festivals around the world. For centuries, the elephant's massive tusks have been prized for their ivory.
The African elephant once roamed the entire continent of Africa, and the Asian elephant ranged from Syriato northern Chinaand the islands of Indonesia. These abundant populations have been reduced to groups in scattered areas south of the Saharaand in isolated patches in India, Sri Lanka, and Southeast Asia.
Demand for ivory, combined with habitat loss from human settlement, has led to a dramatic decline in elephant populations in the last few decades. In 1930, there were between 5 and 10 million African elephants. By 1979, there were 1.3 million. In 1989, when they were added to the international list of the most endangered species, there were about 600,000 remaining, less than one percent of their original number.
Asian elephants were never as abundant as their African cousins, and today they are even more endangered than African elephants. At the turn of the century, there were an estimated 200,000 Asian elephants. Today there are probably no more than 35,000 to 40,000 left in the wild.
ช้างแอฟริกันเคยเดินท่องไปทั่วทั้งทวีป และช้างเอเชียเคยอยู่ตั้งแต่ซีเรียถึงทางเหนือของจีน และเกาะต่างๆในอินโดนีเซีย ช้างจำนวนมากมายนี้ลดจำนวนลงจนเหลือเป็นกลุ่มกระจายบริเวณทางใต้ของซาฮารา และพื้นที่ขาดแหว่งเป็นส่วนๆแยกกัน (อันเนื่องจากถนน และการใช้ที่ดินของมนุษย์) ในอินเดีย ศรีลังกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ความต้องการงาช้าง และการขยายตั้งรกรากของมนุษย์ ได้ลดจำนวนช้างลงอย่างมากมายในช่วงไม่กี่สิบปีมานี้    ในปี1930 มีช้างแอฟริกา 5 ถึง 10 ล้านเชือก ปี 1979 เหลือ 1.3 ล้านเชือก ปี 1989 เหลือ 600000 เชือก น้อยกว่า 1 % ของจำนวนที่เคยมี
ช้างเอเซียไม่เคยมีจำนวนมากเหมือนญาติของมัน ในช่วงเปลี่ยนศตวรรษ ประมาณว่ามีจำนวน 200000 เชือก ปัจจุบันเป็นไปได้ว่ามีไม่เกิน 35000-40000 เชือก

Both Asian (elephant maximus) and African (loxodonta africana)elephants are listed on Appendix I of CITES. Male Asian elephants have small tusks and Asian females are tuskless. Remaining herds are located in small numbers in Nepal, India, Sri Lanka, Thailandand Sumatraand number between 29,000 and 44,000. The Asian species once was found throughout Southern Asia, was severely over-hunted. Although ivory trade has experienced sustained growth since the 1940s, the huge increase that occurred during the 1970s was the result of automatic weapons availability and widespread government corruption in many exporting countries which decimated elephant populations across Africa. In the 1960s, raw ivory prices remained between $3 and $10 per pound. In 1975, the price reached $50 because ivory was perceived as a valuable hedge against rising inflation. By 1987, the price was $125 per pound. The relative price inelasticity of ivory also fueled demand. New manufacturing techniques, which enabled the mass production of ivory carvings, along with rising demand in East Asiaand led to increased elephant kills.
ช้างเอเชียตัวผู้มีงาขนาดเล็ก ส่วนตัวเมียไม่มีงา ในปี 1960 งาช้างราคา 3-10 USD ต่อปอนด์ 1975 งาช้างราคา 50 USD ต่อปอนด์ ที่แพงก็เพราะอยู่ในภาวะเงินเฟ้อ คนซื้อเก็บแทนเงิน 1987 งาช้างราคา 125 USD ต่อปอนด์ เทคนิคการผลิตสมัยใหม่ทำให้เกิด mass production ของการแกะสลักงาช้าง ร่วมไปกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นในเอเชียตะวันออก นำไปสู่การฆ่าช้างที่เพิ่มมากขึ้น
(แถม)ช้างเอเซียตัวเมียจึงหลงรอดอยู่มาก ตรงข้ามกับช้างตัวผู้ แต่ก็ยังโชคดีที่การขยายพันธุ์ ทำได้โดยช้างตัวผู้ไม่กี่ตัว

Hong Kongwas the primary consumer of raw ivory from 1979 to 1987 and probably remains important today. Japanwas the second largest consumer in this time (whose market share dropped markedly during the period), followed by Taiwan(whose share rose). For both Hong Kongand Taiwan, there are probably significant trans-shipment of product to China. In 1979 the EC began was a major consumer, but by 1987 it share dropped to 4 percent. At the same time, the United Statesmarket share rose from 1 to 6 percent (see Table 1).
อ่องกงเป็นผู้บริโภคหลัก และน่าจะยังคงความสำคัญถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นเป็นผู้บริโภคอันดับสอง ตามมาด้วยไต้หวัน อ่องกงและไต้หวัน ยังอาจเป็นทางผ่านไปสู่จีนอีกด้วย ปี1979 ตลาดร่วมยุโรปเคยเป็นผู้บริโภคที่สำคัญ แต่ปี1987 สัดส่วนลดลงเหลือ 4 % ในเวลาเดียวกันสหรัฐมีสัดส่วนบริโภคเพิ่มขึ้นจาก 1 เป็น 6 %

Table 1
World Raw Ivory Consumption (%)


            1979   1981 1983  1985  1987       
HG KONG  37     48     40     22     36       
JAPAN     28     32     20     24     22       
EC          18     5        6     7        4       
TAIWAN    2     2        3     4       20       
MACAO     0     0        2     15       2       
CHINA      1     1         2     1       10       
INDIA       2     2         2     4         1       



Source: ITRG
Elephants in Africa, by Country (1989) (thousands)


Country              Elephants     Country             Elephants     Country     Elephants       
Cameroon              22           South Africa             7            Zambia     32       
South Africa            7           Benin                       2.1         CAR         23       
Zimbabwe              45           Congo                    42            I. Coast   36       
Namibia                   5.7        Mozam.                  17            S. Leone 380       
Botswana              68           Nigeria                     1.3          Angola     18       
Togo                   380           Senegal                   0.14        Liberia        1.3       
Somalia                   2           Sudan                    22            Maur.         0.1       
Tanz.                    61           Niger                      0.44         Uganda       1.6      



Free TextEditor



Create Date : 12 เมษายน 2554
Last Update : 19 กันยายน 2560 21:13:48 น.
Counter : 999 Pageviews.

3 comments
  
ขอ Vote Blog นี้ครับ

แต่สงสัยทำไมสหรัฐนำเข้าได้ เพราะเป็นของต้องห้าม คงลักลอบนำเข้ากัน
โดย: สุกิจ (โอม37 ) วันที่: 13 เมษายน 2554 เวลา:9:00:00 น.
  
ขอบคุณครับ
ผมไม่ทราบคำตอบเหมือนกัน
งาช้างที่ผิดกฏหมายบางส่วน ด้วยการเมือง หรืออะไรก็ตาม
จัดเป็นของถูกกฏหมายในที่สุดครับ
โดย: permsak.rat วันที่: 13 เมษายน 2554 เวลา:11:21:21 น.
  
เห็นด้วยคะ...ไม่ซื้อเหมือนกัน...
โดย: นาเดีย IP: 41.209.65.181 วันที่: 20 พฤษภาคม 2554 เวลา:0:06:39 น.
ชื่อ :
Comment :
 *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

permsak.rat
Location :
กรุงเทพฯ  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 3 คน [?]



All Blog