เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
5. ระบบประมวลผลข้อมูล (DP)

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)


เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน



แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร



Create Date : 11 มิถุนายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:16:44 น. 101 comments
Counter : 6091 Pageviews.

 
สามารถใช้ในงาน
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.111, 124.157.230.25 วันที่: 14 มิถุนายน 2552 เวลา:13:28:23 น.  

 
ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ เรียนบ่าย-วันจันทร์ หมู่1 รหัส 50040302112 IP: 172.29.9.245, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:13:22:51 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่( 08 พฤ เช้า) IP: 172.29.85.71, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:16:03:16 น.  

 

5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน

ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้


ที่มา

//cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010459_%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5#.E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.94.E0.B8.B5.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A1.E0.B8.A7.E0.B8.A5.E0.B8.9C.E0.B8.A5.E0.B8.94.E0.B9.89.E0.B8.A7.E0.B8.A2.E0.B8.84.E0.B8.AD.E0.B8.A1.E0.B8.9E.E0.B8.B4.E0.B8.A7.E0.B9.80.E0.B8.95.E0.B8.AD.E0.B8.A3.E0.B9.8C


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ. เช้า ) IP: 172.29.85.55, 202.29.5.62 วันที่: 30 มิถุนายน 2552 เวลา:18:23:41 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html


นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1


โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 58.147.38.208 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:29:23 น.  

 
5.1

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)

เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน

ที่มา https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=11-06-2009&group=8&gblog=5


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:22:17 น.  

 
5.1

ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูง ถึงแม้ว่าจะมีการลงทุนที่ต่ำก็ตาม
เนื่องจากมีการให้ให้ผลตอบแทนจากการลงทุนที่สูง จึงสามารถทำให้องค์กรเกิดความได้เปรียบคู่แข่งขันในแง่ของการได้รับข้อมูลและสารสนเทศก่อนคู่แข่งขันเสมอ จึงทำให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้นเพื่อทำการกำหนดเป็นกลยุทธ์ และกำหนดทิศทางในการดำเนินงานได้ก่อนคู่แข่งขัน เช่น พฤติกรรมของผู้บริโภค ความต้องการทางตลาด และแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภค
เพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของผู้ตัดสินใจ เนื่องจากคลังข้อมูลได้รับการให้ข้อมูลที่รับมาจากแหล่งข้อมูลที่แตกต่างกัน มีความสอดคล้องกัน และวิเคราะห์ตามประเด็นที่ผู้ตัดสินใจต้องการ อีกทั้งข้อมูลที่มีอยู่ในคลังข้อมูลก็มีปริมาณมากทั้งข้อมูลในอดีตและปัจจุบัน จึงทำให้การตัดสินใจมีประสิทธิภาพมากขึ้นอีกด้วย
ทำให้สะดวกและรวดเร็วในการค้นหาข้อมูลต่างๆ และลดความซ้ำซ้อนกันของข้อมูลอีกด้วย

ที่มา //th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 1.1.1.236, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:24:49 น.  

 
ข้อ 1 ระบบประมวลผลข้อมูล ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา //www.o2blog.com/myblog/blog.php?user=mpirial&id=2431&style=1


โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:1:12:24 น.  

 
ข้อ 1 ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)



โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:1:29:09 น.  

 

ข้อ 1 ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm






โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.233.224 วันที่: 6 กรกฎาคม 2552 เวลา:1:31:57 น.  

 
5.ระบบประมวลผลข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไร ก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น
องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น
ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว


ที่มา //sumana20.tripod.com/41.html


โดย: น.ส. กนกอร เสริฐดิลก หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52040332133 IP: 192.168.1.107, 124.157.145.204 วันที่: 10 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:50:15 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

คำตอบคือ...

(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข

ที่มา...
//cp101km.swu.ac.th/index.php/








โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.229, 58.137.131.62 วันที่: 11 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:22:22 น.  

 
• ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
• ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
สารสนเทศเพื่อการบริการ (Management Information System)หรือ MIS คือระบบบริหารที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องกา เพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้งสารสนเทศจากภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งที่คาดว่าจะเป็นอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไฟเอสจะต้องให้สารสนเทศภายในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง
แม้ว่าผู้บริหารที่ได้รับประโยชน์จากระบบเอ็มไอเอสสูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบเอ็มไอเอสแล้ว จะเป็นระบบที่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหารทั้ง 3 ระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับสูง โดยระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงานที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท จุดประสงค์ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้มและภาพรวมขององค์กรในปัจจุบัน รวมทั้งสามารถควบคุมและตรวจสอบผลงานของระดับปฏิบัติการด้วย อย่างไรก็ดี ขอบเขตของรายงานจะขึ้นอยู่กับลักษณะของสารสนเทศและจุดประสงค์ในการใช้งาน โดยอาจมีรายงานที่ออกทุกคาบระยะเวลา รายงาตตามต้องการ หรือรายงานตามสภาวการณ์หรือเหตุปกติ ตัวอย่างรายงานที่ออกโดยระบบ MIS เช่น การวิเคราะห์การขายแยกตามพื้นที่ การวิเคราะห์ต้นทุน งบประมาณประจำปี การวิเคราะห์การลงทุน และตารางการผลิต เป็นต้น
คุณสมบัติของระบบเอ็มไอเอส
ลักษณะระบบของเอ็มไอเอสที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
 ระบบเอ็มไอเอส จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
 ระบบเอ็มไอเอส จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่างๆ ในองค์กร
 ระบบเอ็มไอเอส จะช่วยให้ผู้บรหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ
 ระบบเอ็มไอเอส จะมีความยืดหยุ่น และสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร
 ระบบเอ็มไอเอส ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และกำจัดการใช้งานของบุคคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ความแตกต่างของเอ็มไอเอสและ ดีพี
 การใช้ระบบฐานข้อมูลร่วมกันของเอ็มไอเอส แทนการใช้ระบบแฟ้มข้อมูลแบบแยกกันของระบบดีพี ทำให้มีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ
 ระบบเอ็มไอเอสจะรวบรวมเก็บข้อมูลจากฝ่ายทำงานต่างๆ ขณะที่ระบบดีพีมีการใช้งานแยกจากกันในแต่ละฝ่าย
 ระบบเอ็มไอเอส จะให้สารสนเทศสำหรับผู้บริหารทุกระดับ ในขณะที่ระบบดีพีจะให้ระดับปฏิบัติการเท่านั้น
 สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ ส่วนมากจะได้รับการตอบสนองทันทีจากระบบเอ็มไอเอส ในขณะที่ระบบดีพีจะต้องรอให้ถึงเวลาสรุป (จากรายงาน)
• ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบการตัดสินใจ ( Decision Support Systems)หรือ DSS เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบอ็มไอเอสอีกระบบหนึ่ง เนื่องจากผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบเอ็มไอเอสของระบริษัท สำหรับการตักสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพในงานปกติ แต่บ่อยครั้งที่ผู้ตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธศาสตร์ และเผชิญกับการตัดสินใจที่ประกอบด้วยปัจจัยที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของมนุษย์ที่จะประมวลผลเข้าด้วยกันได้อย่างถูกต้อง จึงทำให้เกิดการสนับสนุนการตัดสินใจ ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคน (made by order)
ในหลาย ๆ สถานะการณ์ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีหน้าที่ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างสะดวก โดยอาจจะช่วยผู้ตัดสินใจในการเลือกทางเลือก หรืออาจมีการจัดอันดับให้ทางเลือกต่าง ๆ ตามวิธีที่ผู้ตัดสินใจจะเป็นระบบสารสนเทศแบบโต้ตอบได้ ซึ่งจะใช้ชุดเครื่องมือที่ประกอบขึ้นจากทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพื่อช่วยให้ผู้ตัดสินใจสามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด เช่น การแสดงกราฟฟิกแบบต่าง ๆ หรือใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล () เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการใช้โมเดลการวางแผนการทำนาย รวมทั้งการใช้ภาษาในการซักถามที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ หรือแม้แต่ระบบปัญญาประดิษฐ์ เพื่อให้บริหารสามารถเรียกใช้สารสนเทศที่ต้องการได้ โดยไม่จำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเลย
คุณสมบัติของระบบดีเอสเอส


ลักษณะของระบบดีเอสเอสที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
 ระบบดีเอสเอสจะต้องช่วยผู้บริหารในกระบวนการตัดสินใจ
 ระบบดีเอสเอสจะถูกออกแบบมาสามารถเรียกใช้ทั้งข้อมูลแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอนได้
 ระบบดีเอสเอสจะต้องสามารถสนับสนุนผู้ตัดสินใจได้ทุกระดับแต่จะเน้นที่ระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธสาสตร์
 ระบบดีเอสเอสจะมีรูปแบบการใช้งานเอนกประสงค์ มีความสามารถในการจำลองสถานการณ์ และมีเครื่องมือในการวิเคราห์สำหรับช่วยเหลือผู้ทำการตัดสินใจ
 ระบบดีเอสเอสจะต้องมีระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ สามารถใช้งานได้ง่าย ผู้บริหารต้องสามารถใช้งานโดยพึ่งความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญน้อยที่สุดหรือไม่ต้องพึ่งเลย
 ระบบดีเอสเอสสามารถปรับตัวให้เข้ากับข่าวสารในสภาพการณ์ต่างๆ
 ระบบดีเอสเอสต้องมีระบบกลไกช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
 ระบบดีเอสเอสต้องสามารถติดต่อกับฐานข้อมูลองค์กรได้
 ระบบดีเอสเอสต้องทำโดยไม่ขึ้นกับระบบทำงานตามตารางเวลาขององค์กร
 ระบบดีเอสเอสต้องมีความยืดหยุ่นพอที่จะรองรับรูปแบบการบริหารต่างๆ
ความแตกต่างของระบบดีเอสเอสและเอ็มไอเอส
 ระบบเอ็มไอเอส จะถูกออกแบบเพื่อจัดการเฉพะกับผู้ที่มีปัญหาที่มีโครงสร้างเท่านั้น ในขณะที่ระบบดีเอสเอถูกออกแบบให้สามารถจัดการกับปัญหาแบบกึ่งมีโครงสร้าง หรือแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน
 ระบบเอ็มไอเอส จะถูกออกแบบและสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนงานที่แน่นอน เช่น ระบบบัญชี การควบคุมสินค้าคงคลัง
 ระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงานหรือสารสนเทศที่สรุปออกมากับผู้ใช้ ในขณะที่ระบบดีเอสเอสจะโต้ตอบโดยทันที
 ในระบบไอเอ็มเอส ผู้ใช้ไม่สามารถขอให้ระบบสนับสนุนสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจที่ต้องการเป็นการเฉพาะ หรือในรูปแบบที่เฉพาะตัว แต่ในระบบดีเอสเอส ผู้ใช้สามารถกำหนดได้เอง
 ระบบเอ็มไอเอศจะให้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงกับผู้บริหารระดับกลาง ในขณะที่ระบบดีเอสเอสจะให้สารสนเทศที่เหมาะกับทั้งผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง
• ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems )หรือ EIS เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ หรือสามารถกล่าวได้ว่าระบบอีไอเอสคือส่วนหนึ่งของระบบดีเอสเอสที่แยกออกมา เพื่อเน้นในการให้สารสนเทศที่สำคัญต่อการบริหารแก่ผู้บริหารระดับสูงสุด
ลักษณะ รายละเอียด
ระดับการใช้งาน มีการใช้งานบ่อย
ทักษะทางคอมพิวเตอร์ ไม่จำเป็นต้องมีทักษะสูง ระบบจะสามารถใช้งานได้ง่าย
ความยืดหยุ่น สูง จะต้องการเข้ากันได้กับรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร
การใช้งาน ใช้ในงานตรวจสอบ ควบคุม
การสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้บริหารระดับสูง ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน
การสนับสนุนข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ผลลัพธ์ที่แสดง ตัวอักษร ตาราง ภาพและเสียง รวมทั้งระบบมัลติมีเดีย
การใช้งานภาพกราฟฟิค สูง จะใช้รูปแบบการนำเสนอต่าง ๆ
ความเร็วในการตอบสนอง จะต้องตอบสนองอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใด
แสดงลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
ระบบอีไอเอสจะใช้ข้อมูลจากทั้งภายในภายนอกองค์กร (เช่น รายงานจากหน่วยงานของรัฐบาล หรือข้อมูลประชากร) นำมาสรุปอยู่ในรูปแบบที่สามารถตรวจสอบ และใช้ในการตัดสินใจโดยผู้บริหารได้ง่าย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้บริหารดูในรายละเอียดที่ต้องกรในจุดต่างๆได้อีกด้วย
ตัวอย่างของระบบอีไอเอส เช่น รายงานเกี่ยวกับการเงินและสถานะภาพทางธุรกิจของบริษัทรวมทั้งอัตราส่วนสินทรัพย์ต่อหนี้สิน หรือจำนวนลูกค้าเฉลี่ยต่อนาทีที่ใช้บริการสนับสนุนหลังการขายทางโทรศัพท์เป็นต้น โดยระบบอาจแสดงลูกศรเพื่อให้ทราบว่าอัตราส่วนดีขึ้น เท่าเดิมหรือแย่ลง รวมทั้งข้อมูลที่แสดงอาจใช้สีในการแสดงสถานการณ์ต่างๆก็ได้ ซึ่งลูกศรหรือสีจะช่วยให้ผู้บริหารทราบถึงแนวโน้มได้อย่างรวดเร็ว ระบบอีไอเอสจะถูกออกแบบให้แสดงสารสนเทศขององค์กรโดยสรุป แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถดูลึกเข้าไปถึงรายละเอียดที่ต้องการได้ โดยการเลือกหัวข้อที่สนใจและสั่งให้ระบบแสดงข้อมูลในส่วนนั้นเพิ่มเติม
ข้อดี ข้อด้อย
ง่ายต่อผู้บริหารระดับสูงในการใช้งาน มีข้อจำกัดในการใช้งาน
การใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ อาจทำให้บริหารจำนวนมากรู้สึกว่าได้รับข้อมูลมากเกินไป
ให้สารสนเทศสรุปของบริษัทในเวลาที่ต้องการ ยากต่อการประเมินผลประโยชน์ที่ได้จากระบบ
ทำให้สามารถเข้าใจสารสนเทศได้ดีขึ้น ไม่สามารถทำการคำนวญที่ซ้บซ้อนได้
มีการกรองข้อมูลทำให้ประหยัดเวลา ระบบอาจจะใหญ่เกินกว่าที่จะจัดการได้
ทำให้ระบบสามารถติตามสารสนเทศได้ดีขึ้น ยากต่อการรักษาข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
ก่อให้เกิดปัญหาการรักษาความลับของข้อมูล
สรุปจุดเด่นและจุดด้อยของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
ความแตกต่างของระบบอีไอเอส และดีเอสเอส
 ระบบดีเอสเอสถูกออกแบบเพื่อให้สารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลางถึงระดับสูง แต่ระบบอีไอเอสจะเน้นการให้สารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ
 ระบบดีเอสเอสจะมีส่วนของการใช้งานที่ใช้ไม่ง่ายเท่ากับระบบอีไอเอส เนื่องจากระบบอีไอเอสเน้นให้ผู้บริหารระดับสูงสุดใช้นั่นเอง
 ระบบอีไอเอสสามารถสร้างขึ้นมาบนระบบดีเอสเอส เสมือนเป็นระบบซึ่งช่วยให้สอบถามและใช้งานข้อมูลได้สะดวกขึ้น ซึ่งระบบอีไอเอสจะส่งต่อการสอบถามนั้นไปยังระบบดีเอสเอส และทำการสรุปข้อมูลที่ระบบดีเอสเอสส่งมาให้อยู่ในรูปที่ผู้บริหารสามารเข้าใจได้ง่าย
• ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม
คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
 ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
 ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
 ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
 ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
 ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
 ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก
//scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/ismarket/project/Unit4/%C3%D0%BA%BA%BB%C3%D0%C1%C7%C5%BC%C5%A2%E9%CD%C1%D9%C5.doc


โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:45:13 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:07:21 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:14:44 น.  

 
1.
ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความต้องการของผู้ใช้

ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้
ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้
ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความต้องการของผู้ใช้
ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการทางปฏิบัติ ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์เหมาะสม
ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ
การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


ที่มา //www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:29:31 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบข้อ5.1

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


ที่มา//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm





โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:20:33:15 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน

ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้


ที่มา

//cp101km.swu.ac.th/index.php




โดย: นางสาววิภาวี พลวี ( 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.169.73 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:10:54 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)

เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน
การประมวลผลข้อมูล สามารถกระทำได้โดย 3 กรรมวิธีหลักคือ
(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข



ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php

ที่มา https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=11-06-2009&group=8&gblog=5



โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโย 52240210217 วัน พฤหัสฯค่ำ หมู่ 1 IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:55:57 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.82.8 วันที่: 15 กรกฎาคม 2552 เวลา:17:05:41 น.  

 
.
ข้อมูล คือข้อเท็จจริงที่เราสนใจ ส่วน สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสมถูกต้อง จนได้รูปแบบผลลัพธ์ ตรงความต้องการของผู้ใช้

ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศ จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังต่อไปนี้
ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลและข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำ และมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้
ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงาน ตามความต้องการของผู้ใช้
ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมและวิธีการทางปฏิบัติ ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์เหมาะสม
ความชัดเจนกระทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กระทัดรัด สื่อความหมายได้ มีการใช้รหัสหรือย่อข้อมูลให้เหมาะสม เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์
ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตข้อมูล ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ในการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือการทำข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ ที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ จำเป็นต้องมีการประมวลผลข้อมูลก่อน การประมวลผลข้อมูล เป็นกระบวนการที่มีกระบวนการย่อยหลายอย่าง ประกอบกันคือ
การรวบรวมข้อมูล
การแยกแยะ
การตรวจสอบความถูกต้อง
การคำนวณ
การจัดลำดับหรือการเรียงลำดับ
การรายงานผล
การสื่อสารข้อมูลหรือการแจกจ่ายข้อมูลนั้น
การประมวลผลข้อมูล จึงเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญ เพราะข้อมูลที่มีอยู่ รอบๆ ตัวเรามีเป็นจำนวนมากในการใช้งานจึงต้องมีการประมวลผล เพื่อให้เกิดประโยชน์ กิจกรรมหลักของการให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ จึงประกอบด้วยกิจกรรมการ เก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งต้องมีการตรวจสอบ ความถูกต้องด้วย กิจกรรมการประมวลผลซึ่งอาจจะเป็นการแบ่งแยกข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การคำนวณ และกิจกรรมการเก็บรักษาข้อมูลซึ่งอาจต้อง มีการทำสำเนา ทำรายงาน เพื่อแจกจ่าย

วิธีการประมวลผล มี 2 ลักษณะ คือ

(1) การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processing)
หมายถึง การทำงานในขณะที่ข้อมูลวิ่งไปบนสายสัญญาณเชื่อมต่อจากเครื่องปลายทาง (terminal) ไปยังฐานข้อมูลของเครื่องหลักที่ใช้ในการประมวลผลการประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นการประมวลผลโดยทันทีทันใด เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การซื้อสินค้าในห้างสรรพสินค้า การฝากถอนเงินเอทีเอ็ม การประมวลผลแบบเชื่อมตรงจึงเป็นวิธีที่ใช้กันมากวิธีหนึ่ง

(2) การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing)
หมายถึง การประมวลผลในเรื่องที่สนใจเป็นครั้งๆ เช่น เมื่อต้องการทราบข้อมูลผลสำรวจความนิยมของประชาชนต่อการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน หรือที่เรียกว่า โพล (poll) ก็มีการสำรวจข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อเก็บรวบรวมข้อมูลได้แล้วก็นำมาป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วนำข้อมูล นั้นมาประมวลผลตามโปรแกรมที่ได้กำหนดไว้ เพื่อรายงานหรือสรุปผลหาคำตอบ กรณีการประมวลผลแบบกลุ่มจึงกระทำในลักษณะเป็นครั้งๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์โดยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อน


ที่มา //www.yupparaj.ac.th/CAI/processing.htm


โดย: นายนภศักดิ์ ชาทอง ม.29 พุธเช้า IP: 119.31.110.169 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:44:45 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา: //scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/ismarket/project/Unit4





โดย: นางสาวเบญจมาศ ปวงสุข ศศ.บ ภาษาอังกฤษ 3/1 หมู่ 1 เรียน วันจันทร์-บ่าย IP: 117.47.9.217 วันที่: 19 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:44:39 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

-ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา: //scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/ismarket/project/Unit4


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:6:11:34 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

-ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา: //scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/ismarket/project/Unit4


โดย: นายนิรัช วิจิตรกุล ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427117 IP: 117.47.10.111 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:6:12:38 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ
ลักษณะเด่นของ ระบบประมวลผลข้อมูล(TPS) คือ การทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว

ที่มา
//jittpanyaphong.tripod.com/Page4.2.htm


โดย: น.ส. ชฎาพร โสภาคำ ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) ม.08 พฤ (เช้า) 52040281117 IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:18:46 น.  

 
ตอบแบบทดสอบที่ 5 ระบบประมวลผลข้อมูล (DP)

ข้อที่ 1 ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ
ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว

ที่มา //jittpanyaphong.tripod.com/Page4.2.htm


โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัส 52040281130 ม. 08 ( พฤ.เช้า ) IP: 124.157.148.182 วันที่: 25 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:25:03 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร


ระบบประมวลผลข้อมูล (DP)


ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)




เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน




โดย: น.ส วนิดา ปัตตานี เช้าวันศุกร์ หมู่15 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:34:33 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)
ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

1. บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
3. ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น
4.เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
5. ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
6.ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นางสาวสุพัตรา ธรรมสาร(หมู่15ศ.เช้า)52040302208 IP: 222.123.62.82 วันที่: 28 กรกฎาคม 2552 เวลา:1:09:53 น.  

 
5.1)ระบบประมวลผลข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

//science.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: น.ส.วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:55:07 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด




โดย: นายนิติธรรม พฤหัส เช้า หมู่ 08 IP: 1.1.1.4, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:0:27:09 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ข้อดี
1. ง่ายต่อผู้บริหารระดับสูงในการใช้งาน
2. ทำให้ระบบสามารถติตามสารสนเทศได้ดีขึ้น
3. มีการกรองข้อมูลทำให้ประหยัดเวลา
4. ทำให้สามารถเข้าใจสารสนเทศได้ดีขึ้น
5.ให้สารสนเทศสรุปของบริษัทในเวลาที่ต้องการ
6. การใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์
ที่มา //cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวนิตยา กลิ่นเมือง หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:45:46 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)







โดย: นางสาวอังสุมารินทร์ ลุนนิมิตร (ม.15 ศ. เช้า) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:54:13 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
51. ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล คือการจัดการหรือกระทำกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ผลลัพธ์หรือข้อสรุปที่ได้นี้เรียกว่าสารสนเทศ ดังนั้น สารสนเทศ คือผลลัพธ์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผล ซึ่งสามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป -การปฏิบัติการในส่วนการนำเข้า การเก็บรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล -การปฏิบัติการในส่วนประมวลผลตัวอย่างเช่น การจัดเรียงลำดับ การคำนวณ และการสรุปผล -การปฏิบัติการในส่วนผลลัพธ์ แสดงผล พิมพ์รายงาน แสดงตารางหรือกราฟ เก็บรักษาข้อมูล

การประมวลผลข้อมูล สามารถกระทำได้โดย 3 กรรมวิธีหลักคือ
(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข




การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
จะเหมาะสมสำหรับงานทีมีลักษณะดังนี้
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
การนำข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ประโยชน์
ตามที่กล่าวข้างต้น สามารถนำข้อมูลที่ป้อนเข้าไปในแต่ละงานมาใช้อย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงกันในงานต่างๆ โดยไม่ต้องพิมพ์เป็นกระดาษออกมาเพื่อป้อนเข้าใหม่ในระบบอื่นๆ แต่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถรับข้อมูลจากโปรแกรมอื่นๆ เพื่อนำมาใช้ได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ ลดเวลาทำงานลง มีความถูกต้องสูงขึ้น (ลดความผิดพลาดของผู้ทำงานลง) และยังประหยัดการใช้ทรัพยากรบางอย่างลง เช่น กระดาษ ปากกา ยางลบ แฟ้มตู้สำหรับเก็บข้อมูล ข้อมูลต่างๆ ก็จะอยู่ภายในระบบที่ค้นหาได้อย่างครบถ้วน และยังประหยัดพื้นที่ในการเก็บสำเนาเอกสารที่มีอย่างมากมายลงด้วย

//cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5


โดย: สุจิตรา มหาฤทธิ์ 51040305111 ภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 จันทร์บ่าย IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 31 กรกฎาคม 2552 เวลา:14:12:44 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
การประมวลผลข้อมูล เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบเก่าแก่ที่มีผู้ใช้มานานแล้ว ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล (Process) ให้เป็นเอกสารธุรกิจจัดทำรายงาน หรือดำเนินการอื่น ๆ

ตัวอย่างของระบบประมวลผลข้อมูลได้แก่ ระบบจ่ายเงินเดือน ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการมาปฏิบัติงานของพนักงาน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบประมวลผลข้อมูลนั้นไม่ซับซ้อน เป็นเพียงระบบงานที่อาศัยระบบแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ดี และมีโปรแกรมที่เหมาะสมเท่านั้น

งานประมวลผลข้อมูลมีสองลักษณะ ลักษณะแรกเป็นการประมวลผลที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องโต้ตอบ เรียกว่าการประมวลผลแบบแบตช์ ( Batch Processing) ส่วนประการประมวลผลอีกลักษณะหนึ่งนั้น ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องโต้ตอบกับเครื่องตลอดเวลาที่โปรแกรมทำงาน เราเรียกว่าเป็นการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive Processing)


//gold.rajabhat.edu/learn/4000107/Unit4/Unit4_6.htm





โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.146.209 วันที่: 3 สิงหาคม 2552 เวลา:15:48:08 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้
อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา
//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นาย สุระทิน ใจใส รหัส 52041151202 หมู่15 ศุกร์เช้า IP: 202.29.5.62 วันที่: 4 สิงหาคม 2552 เวลา:19:53:06 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ การประมวลผลข้อมูล เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบเก่าแก่ที่มีผู้ใช้มานานแล้ว ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล (Process) ให้เป็นเอกสารธุรกิจจัดทำรายงาน หรือดำเนินการอื่น ๆ
ตัวอย่างของระบบประมวลผลข้อมูลได้แก่ ระบบจ่ายเงินเดือน ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการมาปฏิบัติงานของพนักงาน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบประมวลผลข้อมูลนั้นไม่ซับซ้อน เป็นเพียงระบบงานที่อาศัยระบบแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ดี และมีโปรแกรมที่เหมาะสมเท่านั้นงานประมวลผลข้อมูลมีสองลักษณะ ลักษณะแรกเป็นการประมวลผลที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องโต้ตอบ เรียกว่าการประมวลผลแบบแบตช์ ( Batch Processing) ส่วนประการประมวลผลอีกลักษณะหนึ่งนั้น ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องโต้ตอบกับเครื่องตลอดเวลาที่โปรแกรมทำงาน เราเรียกว่าเป็นการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive Processing)

ที่มา:
www.cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น. ) IP: 114.128.22.96 วันที่: 5 สิงหาคม 2552 เวลา:12:27:01 น.  

 
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำ ข้อมูลดิบ (raw data) มาคำนวณทางสถิติหรือประมวลผลอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งข่าวสารที่ได้ออกมานั้นจะอยู่ในรูปที่สามารถนำไปใช้งานได้ทันที

ในส่วนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึงกระบวนการต่างๆ และระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศที่ต้องการโดยจะรวมถึง

เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์คมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟต์แวร์ทั้งระบบสำเร็จรูปและพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะด้าน


กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน รวบรวมข้อมูล จัดเก็บประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน ประกอบด้วย


ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
สารสนเทศกับการตัดสินใจ
ในองค์การต่าง ๆ นั้น สามารถแบ่งการทำงานได้เป็น 4 ระดับด้วยกันคือ ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว (strategic planning) ระดับวางแผนการบริหาร (tactical planning) ระดับวางแผนปฏิบัตการ (operation planning) และ ระดับผู้ปฏิบัติการ (clerical) โดยใน 3 ระดับแรกนั้นจะจัดอยู่ใน ระดับบริหาร (Management) และระดับสุดท้ายจัดอยู่ใน ระดับปฏฺบัติการ (Operation)

ระบบสารสนเทศจะทำการเก็บรวมรวบข้อมูลจากระดับปฏิบัติการ และทำการประมวลผลเพื่อให้สารสนเทศกับบุคลากรในระดับต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละระดับนั้นจะใช้ลักษณะและปริมาณของสารสนเทศที่แตกต่างไป ระบบสารสนเทศในองค์สามารถแทนได้ด้วยภาพปิรามิด ตามรูป



แสดงโมเดลโครงสร้างองค์กร



จากภาพจะเห็นได้ว่าโครงสร้างระบบสารสนเทศแบบปิรามิด มีฐานที่กว้างและบีบแคบขึ้นไปบรรจบในยอดบนสุด ซึ่งหมายความว่าสารสนเทศที่ใช้งานจะมีมากในระดับล่างและลดหลั่นน้อยลงไปตามลำดับจนถึงยอดบนสุด เช่นเดียวกับจำนวนบุคลากรในระดับนั้น ๆ

บุคลากรในแต่ละระดับจะเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศดังนี้

ระดับปฏิบัติการ

บุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องอยู่กับงานที่ทำซ้ำ ๆ กัน และจะเน้นไปที่การจัดการรายการประจำวัน นั้นคือบุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในฐานะผู้จัดหาข้อมูลเข้าสู่ระบบ ตัวอย่างเช่น เจ้าหน้าที่ผู้ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลการสั่งซื้อของลูกค้าเข้าสู่คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศเพื่อการขาย หรือตัวแทนการจองตั๋วและขายตั๋วในระบบจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น


ระดับวางแผนปฏิบัติการ

บุคคลในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารขั้นต้นที่ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิงานประจำวัน และการวางแผนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาสั้น ๆ เช่น แผนงานประจำวัน ประจำสัปดาห์ หรือประจำไตรมาส ข้อมูลที่ผู้บริหารระดับนี้ต้องการส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ผู้จัดการแนกจายตรงอาจต้องการรายงานสรุปผลการขายประจำไตรมาสของพนักงานขาย เพื่อประเมินผลของพนักงานขายแต่ละคน เป็นต้น


ระดับวางแผนการบริหาร


บุคลากรในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งทำหนาที่วางแผนให้บรรลุเป้าหมายต่างๆ เพื่อให้องค์กรประสบความสำเร็จตามแผนงานระยะยาวตามที่กำหนดโดยผู้บริหารระดับสูง มักจะเป็นสารสนเทศตามคาบเวลาซึ่งมีระยะเวลานานกว่าผู้บริหารขั้นต้น และจะเป็นสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร เช่น ของคู่แข่งหรือของตลาดโดยรวม เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับนี้ยังต้องการระบบที่ให้รายงานการวิเคราะห์แบบ ถ้า-แล้ว (What - IF) นั่นคือสามารถทดสอบได้ว่าหากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้แล้ว ตัวเลขหรือสารสนเทศต่างๆ จะเปลี่ยนเป็นเช่นไร เพื่อให้จำลองสถานการณ์ต่างๆที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น ผู้จัดการฝ่ายขายอาจต้องการทาบผลการขายประจำปีของบริษัทเทียบคู่แข่งต่าง ๆ รวมทั้งอาจต้องการทดสอบว่าถ้าเพิ่มหรือลดลงโฆษณาในสื่อต่าง ๆ จะมีผลกระทบต่อยอดขายอย่างไรบ้าง


ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว


ผู้บริหารระดับนี้จะเป็นระดับสูงสุด ซึ่งเน้นในเรื่องเป้าประสงค์ขององค์กร ระบบสารสนเทศที่ต้องการจะเน้นที่รายงานสรุป รายงานแบบ What-if และการวิเคราะห์แนวโน้มต่างๆ (trand analysis) ตัวอย่างเช่น ประธานบริษัทอาจต้องการรายงานที่แสดงแนวโน้มการขายในอีก 4 ปีข้างหน้าของผลิตภัณฑ์ 3 ชนิดของบริษัท เพื่อดูแนวโน้มในการเติบโตของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ว่า ผลิตภัณฑ์ใดจะมีแนวโน้มที่มีกว่า หรือผลิตภัณฑ์ใดที่อาจสร้างปัญหาให้บริษัทได้ เป็นต้น
ระดับวางแผนปฏิบัติการ ระดังวางแผนการบริหาร ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะเวลา
ความถี่ สม่ำเสมอ ซ้ำซ้ำ มักจะเป็นประจำ เมื่อต้องการ
ผลลัพธ์ที่ได้ เป็นตามที่คาด อาจไม่เหมือนที่คาด มักจะไม่เหมือนที่คาด
ระยะเวลา อดีต เปรียบเทียบ อนาคต
รายละเอียด มีรายละเอียดมาก ถูกสรุปแล้ว ถูกสรุปแล้ว
แหล่งข้อมูล ภายใน ภายในและภายนอก ภายในแลภายนอก
ลักษณะของข้อมูล เป็นโครงสร้าง กึ่งโครงสร้าง ไม่เป็นโครงสร้าง
ความแม่นยำ มีความแม่นยำสูง ใช้การคาดการณ์บ้าง ใช้การคาดการณ์สูง
ผู้ใช้ หัวหน้างาน ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับสูง
ระดับการตัดสินใจ เกี่ยวกับงานที่ทำ จัดสรรทรัพยาการและควบคุม วางเป้าประสงค์

สรุปความแตกต่างของสารสนเทศในระดับบริหารทั้ง 3 ระดับ



ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
สารสนเทศเพื่อการบริการ (Management Information System)หรือ MIS คือระบบบริหารที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องกา เพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้งสารสนเทศจากภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งที่คาดว่าจะเป็นอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไฟเอสจะต้องให้สารสนเทศภายในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง

แม้ว่าผู้บริหารที่ได้รับประโยชน์จากระบบเอ็มไอเอสสูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบเอ็มไอเอสแล้ว จะเป็นระบบที่สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ผู้บริหารทั้ง 3 ระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับสูง โดยระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงานที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท จุดประสงค์ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้มและภาพรวมขององค์กรในปัจจุบัน รวมทั้งสามารถควบคุมและตรวจสอบผลงานของระดับปฏิบัติการด้วย อย่างไรก็ดี ขอบเขตของรายงานจะขึ้นอยู่กับลักษณะของสารสนเทศและจุดประสงค์ในการใช้งาน โดยอาจมีรายงานที่ออกทุกคาบระยะเวลา รายงาตตามต้องการ หรือรายงานตามสภาวการณ์หรือเหตุปกติ ตัวอย่างรายงานที่ออกโดยระบบ MIS เช่น การวิเคราะห์การขายแยกตามพื้นที่ การวิเคราะห์ต้นทุน งบประมาณประจำปี การวิเคราะห์การลงทุน และตารางการผลิต เป็นต้น

คุณสมบัติของระบบเอ็มไอเอส

ลักษณะระบบของเอ็มไอเอสที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
ระบบเอ็มไอเอส จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
ระบบเอ็มไอเอส จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่างๆ ในองค์กร
ระบบเอ็มไอเอส จะช่วยให้ผู้บรหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ
ระบบเอ็มไอเอส จะมีความยืดหยุ่น และสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร
ระบบเอ็มไอเอส ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และกำจัดการใช้งานของบุคคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น
ความแตกต่างของเอ็มไอเอสและ ดีพี
การใช้ระบบฐานข้อมูลร่วมกันของเอ็มไอเอส แทนการใช้ระบบแฟ้มข้อมูลแบบแยกกันของระบบดีพี ทำให้มีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ
ระบบเอ็มไอเอสจะรวบรวมเก็บข้อมูลจากฝ่ายทำงานต่างๆ ขณะที่ระบบดีพีมีการใช้งานแยกจากกันในแต่ละฝ่าย
ระบบเอ็มไอเอส จะให้สารสนเทศสำหรับผู้บริหารทุกระดับ ในขณะที่ระบบดีพีจะให้ระดับปฏิบัติการเท่านั้น
สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ ส่วนมากจะได้รับการตอบสนองทันทีจากระบบเอ็มไอเอส ในขณะที่ระบบดีพีจะต้องรอให้ถึงเวลาสรุป (จากรายงาน)
ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบการตัดสินใจ ( Decision Support Systems)หรือ DSS เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นจากระบบอ็มไอเอสอีกระบบหนึ่ง เนื่องจากผู้ที่มีหน้าที่ในการตัดสินใจจะสามารถใช้ประสบการณ์หรือใช้ข้อมูลที่มีอยู่แล้วในระบบเอ็มไอเอสของระบริษัท สำหรับการตักสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพในงานปกติ แต่บ่อยครั้งที่ผู้ตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธศาสตร์ และเผชิญกับการตัดสินใจที่ประกอบด้วยปัจจัยที่ซับซ้อนเกินกว่าความสามารถของมนุษย์ที่จะประมวลผลเข้าด้วยกันได้อย่างถูกต้อง จึงทำให้เกิดการสนับสนุนการตัดสินใจ ซึ่งเป็นระบบที่สนับสนุนความต้องการเฉพาะของผู้บริหารแต่ละคน (made by order)

ในหลาย ๆ สถานะการณ์ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีหน้าที่ช่วยให้การตัดสินใจเป็นไปได้อย่างสะดวก โดยอาจจะช่วยผู้ตัดสินใจในการเลือกทางเลือก หรืออาจมีการจัดอันดับให้ทางเลือกต่าง ๆ ตามวิธีที่ผู้ตัดสินใจจะเป็นระบบสารสนเทศแบบโต้ตอบได้ ซึ่งจะใช้ชุดเครื่องมือที่ประกอบขึ้นจากทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เพื่อช่วยให้ผู้ตัดสินใจสามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด เช่น การแสดงกราฟฟิกแบบต่าง ๆ หรือใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล () เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการใช้โมเดลการวางแผนการทำนาย รวมทั้งการใช้ภาษาในการซักถามที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ หรือแม้แต่ระบบปัญญาประดิษฐ์ เพื่อให้บริหารสามารถเรียกใช้สารสนเทศที่ต้องการได้ โดยไม่จำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเลย

คุณสมบัติของระบบดีเอสเอส


ลักษณะของระบบดีเอสเอสที่ดีสามารถสรุปได้ดังนี้
ระบบดีเอสเอสจะต้องช่วยผู้บริหารในกระบวนการตัดสินใจ
ระบบดีเอสเอสจะถูกออกแบบมาสามารถเรียกใช้ทั้งข้อมูลแบบกึ่งโครงสร้างและแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอนได้
ระบบดีเอสเอสจะต้องสามารถสนับสนุนผู้ตัดสินใจได้ทุกระดับแต่จะเน้นที่ระดับวางแผนบริหารและวางแผนยุทธสาสตร์
ระบบดีเอสเอสจะมีรูปแบบการใช้งานเอนกประสงค์ มีความสามารถในการจำลองสถานการณ์ และมีเครื่องมือในการวิเคราห์สำหรับช่วยเหลือผู้ทำการตัดสินใจ
ระบบดีเอสเอสจะต้องมีระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ สามารถใช้งานได้ง่าย ผู้บริหารต้องสามารถใช้งานโดยพึ่งความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญน้อยที่สุดหรือไม่ต้องพึ่งเลย
ระบบดีเอสเอสสามารถปรับตัวให้เข้ากับข่าวสารในสภาพการณ์ต่างๆ
ระบบดีเอสเอสต้องมีระบบกลไกช่วยให้สามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
ระบบดีเอสเอสต้องสามารถติดต่อกับฐานข้อมูลองค์กรได้
ระบบดีเอสเอสต้องทำโดยไม่ขึ้นกับระบบทำงานตามตารางเวลาขององค์กร
ระบบดีเอสเอสต้องมีความยืดหยุ่นพอที่จะรองรับรูปแบบการบริหารต่างๆ
ความแตกต่างของระบบดีเอสเอสและเอ็มไอเอส
ระบบเอ็มไอเอส จะถูกออกแบบเพื่อจัดการเฉพะกับผู้ที่มีปัญหาที่มีโครงสร้างเท่านั้น ในขณะที่ระบบดีเอสเอถูกออกแบบให้สามารถจัดการกับปัญหาแบบกึ่งมีโครงสร้าง หรือแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน
ระบบเอ็มไอเอส จะถูกออกแบบและสร้างขึ้นเพื่อสนับสนุนงานที่แน่นอน เช่น ระบบบัญชี การควบคุมสินค้าคงคลัง
ระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงานหรือสารสนเทศที่สรุปออกมากับผู้ใช้ ในขณะที่ระบบดีเอสเอสจะโต้ตอบโดยทันที
ในระบบไอเอ็มเอส ผู้ใช้ไม่สามารถขอให้ระบบสนับสนุนสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจที่ต้องการเป็นการเฉพาะ หรือในรูปแบบที่เฉพาะตัว แต่ในระบบดีเอสเอส ผู้ใช้สามารถกำหนดได้เอง
ระบบเอ็มไอเอศจะให้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงกับผู้บริหารระดับกลาง ในขณะที่ระบบดีเอสเอสจะให้สารสนเทศที่เหมาะกับทั้งผู้บริหารระดับกลางและระดับสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง
ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information Systems )หรือ EIS เป็นระบบที่สร้างขึ้น เพื่อสนับสนุนสารสนเทศและการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ หรือสามารถกล่าวได้ว่าระบบอีไอเอสคือส่วนหนึ่งของระบบดีเอสเอสที่แยกออกมา เพื่อเน้นในการให้สารสนเทศที่สำคัญต่อการบริหารแก่ผู้บริหารระดับสูงสุด

ลักษณะ รายละเอียด
ระดับการใช้งาน มีการใช้งานบ่อย
ทักษะทางคอมพิวเตอร์ ไม่จำเป็นต้องมีทักษะสูง ระบบจะสามารถใช้งานได้ง่าย
ความยืดหยุ่น สูง จะต้องการเข้ากันได้กับรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร
การใช้งาน ใช้ในงานตรวจสอบ ควบคุม
การสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้บริหารระดับสูง ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน
การสนับสนุนข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ผลลัพธ์ที่แสดง ตัวอักษร ตาราง ภาพและเสียง รวมทั้งระบบมัลติมีเดีย
การใช้งานภาพกราฟฟิค สูง จะใช้รูปแบบการนำเสนอต่าง ๆ
ความเร็วในการตอบสนอง จะต้องตอบสนองอย่างรวดเร็ว ทันทีทันใด

แสดงลักษณะเฉพาะของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง



ระบบอีไอเอสจะใช้ข้อมูลจากทั้งภายในภายนอกองค์กร (เช่น รายงานจากหน่วยงานของรัฐบาล หรือข้อมูลประชากร) นำมาสรุปอยู่ในรูปแบบที่สามารถตรวจสอบ และใช้ในการตัดสินใจโดยผู้บริหารได้ง่าย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้บริหารดูในรายละเอียดที่ต้องกรในจุดต่างๆได้อีกด้วย

ตัวอย่างของระบบอีไอเอส เช่น รายงานเกี่ยวกับการเงินและสถานะภาพทางธุรกิจของบริษัทรวมทั้งอัตราส่วนสินทรัพย์ต่อหนี้สิน หรือจำนวนลูกค้าเฉลี่ยต่อนาทีที่ใช้บริการสนับสนุนหลังการขายทางโทรศัพท์เป็นต้น โดยระบบอาจแสดงลูกศรเพื่อให้ทราบว่าอัตราส่วนดีขึ้น เท่าเดิมหรือแย่ลง รวมทั้งข้อมูลที่แสดงอาจใช้สีในการแสดงสถานการณ์ต่างๆก็ได้ ซึ่งลูกศรหรือสีจะช่วยให้ผู้บริหารทราบถึงแนวโน้มได้อย่างรวดเร็ว ระบบอีไอเอสจะถูกออกแบบให้แสดงสารสนเทศขององค์กรโดยสรุป แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถดูลึกเข้าไปถึงรายละเอียดที่ต้องการได้ โดยการเลือกหัวข้อที่สนใจและสั่งให้ระบบแสดงข้อมูลในส่วนนั้นเพิ่มเติม

ข้อดี ข้อด้อย
ง่ายต่อผู้บริหารระดับสูงในการใช้งาน มีข้อจำกัดในการใช้งาน
การใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ อาจทำให้บริหารจำนวนมากรู้สึกว่าได้รับข้อมูลมากเกินไป
ให้สารสนเทศสรุปของบริษัทในเวลาที่ต้องการ ยากต่อการประเมินผลประโยชน์ที่ได้จากระบบ
ทำให้สามารถเข้าใจสารสนเทศได้ดีขึ้น ไม่สามารถทำการคำนวญที่ซ้บซ้อนได้
มีการกรองข้อมูลทำให้ประหยัดเวลา ระบบอาจจะใหญ่เกินกว่าที่จะจัดการได้
ทำให้ระบบสามารถติตามสารสนเทศได้ดีขึ้น ยากต่อการรักษาข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา
ก่อให้เกิดปัญหาการรักษาความลับของข้อมูล

สรุปจุดเด่นและจุดด้อยของระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง



ความแตกต่างของระบบอีไอเอส และดีเอสเอส
ระบบดีเอสเอสถูกออกแบบเพื่อให้สารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลางถึงระดับสูง แต่ระบบอีไอเอสจะเน้นการให้สารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะ
ระบบดีเอสเอสจะมีส่วนของการใช้งานที่ใช้ไม่ง่ายเท่ากับระบบอีไอเอส เนื่องจากระบบอีไอเอสเน้นให้ผู้บริหารระดับสูงสุดใช้นั่นเอง
ระบบอีไอเอสสามารถสร้างขึ้นมาบนระบบดีเอสเอส เสมือนเป็นระบบซึ่งช่วยให้สอบถามและใช้งานข้อมูลได้สะดวกขึ้น ซึ่งระบบอีไอเอสจะส่งต่อการสอบถามนั้นไปยังระบบดีเอสเอส และทำการสรุปข้อมูลที่ระบบดีเอสเอสส่งมาให้อยู่ในรูปที่ผู้บริหารสามารเข้าใจได้ง่าย
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems)
ระบบผู้เชี่ยวชาญมีส่วนที่คล้ายคลึงกับระบบอื่นๆ คือเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บริหารแก้ไขปัญหาหรือทำการตัดสินได้ดีขึ้น ระบบผู้เชี่ยวชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก จะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ (knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีเดี่ยวกับผู้เชี่ยวชาญที่มนุษย์เป็น โดยใช้หลักการทำงานด้วยระบบ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

ระบบผู้เชี่ยวชาญจะทำการโต้ตอบกับมนุษย์ โดยมีการถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อความกระจ่างให้ข้อแนะนำ และช่วยเหลือในการตัดสินใจ นั่นคือทำงานคล้ายกับเป็นมนุษย์ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ไขปัญหานั้น เนื่องจากระบบนี้คือการจำลองความรู้ของผู้เชี่ยวชาญจริง ๆ มานั่นเอง โดยผู้เชี่ยวชาญในที่นี้อาจเป็นได้ทั้งผู้เชี่ยวชาญในการบริหาร ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องภาษี ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องยา หรือแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญในการทำอาหารก็ตาม

คุณสมบัติของระบบผู้เชี่ยวชาญ

ข้อดีของระบบผู้เชี่ยวชาญ จะค่อนข้างต่างกว่าระบบสารสนเทศอื่นๆ ดังนี้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยในการเก็บความรู้ของผู้เชี่ยวชาญในด้านใดด้านหนึ่งไว้ ทำให้ไม่สูญเสียความรู้นั้น เมื่อผู้เชี่ยวชาญต้องการออกจากองค์กรหรืออาจไม่ปฏิบัติงานได้
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะช่วยขีดความสามารถในการตัดสินใจให้กับผู้บริหารจำนวนมากพร้อมๆ กัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ สามารถเพิ่มทั้งประสิทธิภาพและประสิทะผลให้กับผู้ตัดสินใจได้อย่างมาก
ระบบผู้เชี่ยวชาญ จะทำให้การตักสินใจในแต่ละครั้งมีความใกล้เคียงและไม่มีความขัดแย้งกัน
ระบบผู้เชี่ยวชาญ ช่วยลดการพึ่งพาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ระบบผูเชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมที่จะเป็นระบบในการฝึกสอนเป็นอย่างมาก
//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม.15 ศ.เช้า IP: 124.157.129.16 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:17:31:08 น.  

 
1. ตอบ ข้อมูลที่ดีย่อมก่อให้เกิดข่าวสารที่ดี มีประโยชน์ ข้อมูลที่ดีประกอบด้วยลักษณะเด่น 4 ประการคือ

1. ความถูกต้อง (Accuracy) ความถูกต้องของข้อมูลนับว่าเป็นสิ่งสำคัญอันดับหนึ่งเพราะหากข้อมูลดิบที่ป้อนเข้า (Raw Data) ถูกต้อง เป็นจริง ย่อมแสดงว่าข่าวสารที่ได้น่าเชื่อถือและตรงตามจุดประสงค์ใน

2. ความสมบูรณ์ (Completeness) ข้อมูลที่ถูกต้องเพียงอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอสำหรับการประมวลผล เช่นกรณีโพลสำรวจประชามติ หากได้ข้อมูลเพียงด้านเดียวหรือจากประชาการเฉพาะกลุ่มย่อมทำให้ได้ข่าวสารที่เป็นจริงเฉพาะกลุ่มเท่านั้น ดังนั้นข้อมูลในการประมวลผลจึงควรครบถ้วนสมบูรณ์ คือต้องสมบูรณ์ทั้งรายกายและจำนวน รวมทั้งต้องครอบคลุมประชากรหรือตัวแปรในกลุ่มที่เกี่ยวข้องด้วย

3. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ข้อมูลที่ดีต้องสามารถตรวจสอบได้ว่าถูกต้อง น่าเชื่อถือหรือไม่ และรู้แหล่งที่มาของข้อมูลที่สามารถอ้างอิงตรวจสอบได้

4. ใช้เวลาในการประมวลผลน้อย (Timeliness) ความเร็วเป็นตัวชี้ความทันสมัยทันต่อเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบันของข้อมูล ทั้งนี้หมายความถึงความเร็วในการนำเสนอข่าวสารผลลัพธ์ด้วย เพราะผลลัพธ์ที่ถูกต้องสมบูรณ์จะไม่มีคุณค่าใด ๆ หากการนำเสนอผลลัพธ์ล่าช้า

5. ความเข้ากันได้กับเครื่องมือประมวลผล (Compatibleness) ข้อมูลดิบที่จะนำเข้าสู่ขบวนการประมวลผล จำเป็นต้องเข้ากันได้กับเครื่องมือที่ใช้ในการประมวลผลนั้น ๆ การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีลักษณะการรวบรวมข้อมูลที่แตกต่างจากการประมวลผลด้วยมือ

ที่มา //www.google.co.th/search?q=%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5&hl=th&start=20&sa=N


โดย: 52040281122 น.ส.ณัฐติยา โกศิลา สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) หมู่ 08 วันพฤหัสเช้า IP: 124.157.149.216 วันที่: 12 สิงหาคม 2552 เวลา:12:19:11 น.  

 
ตรวจแล้ว (ครั้งที่ 1)


โดย: อ.น้ำผึ้ง (neaup ) วันที่: 13 สิงหาคม 2552 เวลา:10:51:44 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)
เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน
การประมวลผลข้อมูล สามารถกระทำได้โดย 3 กรรมวิธีหลักคือ
(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข

ที่มา //science.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm










โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:14:07:31 น.  

 

5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไรตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System) คือ การจัดการหรือกระทำกับข้อมูลเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ผลลัพธ์หรือข้อสรุปที่ได้นี้เรียกว่าสารสนเทศ ดังนั้น สารสนเทศ คือผลลัพธ์ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผล ซึ่งสามารถนำ.มาใช้ประโยชน์ต่อไป
ขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศประกอบด้วย 3 ส่วนหลักดังนี้

1.การปฏิบัติการในส่วนการนำเข้า การเก็บรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล

2.การปฏิบัติการในส่วนประมวลผลตัวอย่างเช่น การจัดเรียงลำดับ การคำนวณ และการสรุปผล

3.การปฏิบัติการในส่วนผลลัพธ์ แสดงผล พิมพ์รายงาน แสดงตารางหรือกราฟ เก็บรักษาข้อมูล

ข้อเด่นของการประมวลผล

การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน

ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้
ที่มา//staff1.kmutt.ac.th/~sumet/combk/ch9/c912.htm



โดย: 52040263105 ชื่อ น.ส. อรวรรณ ไชยยงค์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร หมู๋22 (อังคารเช้า) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 16 สิงหาคม 2552 เวลา:15:40:24 น.  

 
ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นางสาวคนึงนิจ ผิวบาง ม.22 IP: 124.157.148.178 วันที่: 17 สิงหาคม 2552 เวลา:19:31:42 น.  

 

5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาว นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:28:22 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm



โดย: นางสาว นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.182, 58.147.7.66 วันที่: 20 สิงหาคม 2552 เวลา:19:36:19 น.  

 
5.1ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา
//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm
โดยน.สอภิญญา อุ้ยปะโค 52041278104 ศเช้า ม.15


โดย: อภิญญา อุ้ยปะโค IP: 124.157.149.155 วันที่: 21 สิงหาคม 2552 เวลา:16:08:59 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)
เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน
การประมวลผลข้อมูล สามารถกระทำได้โดย 3 กรรมวิธีหลักคือ
(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข

ที่มา //science.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 หมู่22อังคารเช้า IP: 124.157.144.104 วันที่: 22 สิงหาคม 2552 เวลา:15:19:23 น.  

 
สามารถใช้ในงาน
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670


โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:16:47 น.  

 
ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html





โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี รหัส 51241151116 รูปแบบพิเศษหมู่ 5 วันเสาร์บ่ายโมง IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 29 สิงหาคม 2552 เวลา:14:19:08 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:42:16 น.  

 
ข้อ 1 ระบบประมวลผลข้อมูล ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา //www.o2blog.com/myblog/blog.php?user=mpirial&id=2431&style=1


โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 222.123.59.23 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:13:54:54 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html



โดย: นางาสาว สมร นาแพงหมื่น เสาร์บ่าย 51241151220 IP: 114.128.133.6 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:16:22:43 น.  

 
ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ (Transaction Processing System : TPS)
ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ มักเป็นการประมวลผลต่อวัน เช่น การรับ – จ่ายบิล ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบรายรับ – จ่ายสินค้า ระบบนี้เป็นระบบสารสนเทศลำดับแรกที่ได้รับ การพัฒนาให้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์

ลักษณะเด่นของระบบ TPS คือ การทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้เกือบทั้งหมดใช้การประมวลผลแบบออนไลน์ และสิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้ คือ
- ลดจำนวนพนักงาน
- องค์กรจะมีการบริการที่สะดวกรวดเร็ว
- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น



โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษม (ศุกร์ เช้า หมู่เรียนที่ 15) IP: 1.1.1.40, 202.29.5.62 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:20:59:43 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้
อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา
//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:11:30:52 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว

ที่มา : //jittpanyaphong.tripod.com/Page4.2.htm


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 125.26.170.66 วันที่: 5 กันยายน 2552 เวลา:15:43:45 น.  

 
ข้อ 1 ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 125.26.172.40 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:20:39:22 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว

ที่มา : //jittpanyaphong.tripod.com/Page4.2.htm


โดย: นางสาวกฤติยา เหล่าผักสาร รหัสนักศึกษา 52040263134 หมู่ 22 อังคารเช้า คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 8 กันยายน 2552 เวลา:9:38:32 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ5.1)ระบบประมวลผลข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

//science.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm





โดย: ชื่อ นายวัชระพงศ์ โคตรชมภู รหัสนักศึกษา 51040901205 หมู่ที่1จันทร์(บ่าย)สาขาวิชานิติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 11 กันยายน 2552 เวลา:12:54:54 น.  

 
ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้
ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.165.130 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:20:18:31 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร


คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการที่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูง ด้วยคุณลักษณะดังนี้

1) ความจำ (Storage) เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก และเป็นระยะเวลานานโดยจะอาศัยสื่อบันทึกข้อมูล (Storage Media) ซึ่งแบ่งได้ 2 ระบบคือ
1.1 หน่วยความจำหลัก (Primary Storage) เป็นหน่วยความจำภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
1.2 หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) เป็นหน่วยความจำภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
2) ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) ภายในเวลาที่สั้นที่สุด ความสามารถในการประมวลผลซ้ำๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เรียกว่า ความถี่ (Frequency) เป็นจำนวนคำสั่ง หรือ จำนวนครั้ง หรือ จำนวนรอบในหนึ่งนาที เรียกว่า Hz (Hertz) ความเร็วในการประมวลผลข้อมูล จะถูกกำหนดโดยหน่วยประมวลผล (Processor)
3) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting) เป็นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับคำสั่งได้อย่างถูกต้องต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติตามคำสั่งและขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ ได้กำหนดไว้
4) ความน่าเชื่อถือ (Sure) ความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลที่นักคอมพิวเตอร์ได้ กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์


ที่มา : //edu.chandra.ac.th/programtechno/programtechno/elerntechno/SlidePae/computer.htm


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.160.68 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:1:00:19 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ตอบคอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการที่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูง ด้วยคุณลักษณะดังนี้

1) ความจำ (Storage) เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก และเป็นระยะเวลานานโดยจะอาศัยสื่อบันทึกข้อมูล (Storage Media) ซึ่งแบ่งได้ 2 ระบบคือ
1.1 หน่วยความจำหลัก (Primary Storage) เป็นหน่วยความจำภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
1.2 หน่วยความจำรอง (Secondary Storage) เป็นหน่วยความจำภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์
2) ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) ภายในเวลาที่สั้นที่สุด ความสามารถในการประมวลผลซ้ำๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เรียกว่า ความถี่ (Frequency) เป็นจำนวนคำสั่ง หรือ จำนวนครั้ง หรือ จำนวนรอบในหนึ่งนาที เรียกว่า Hz (Hertz) ความเร็วในการประมวลผลข้อมูล จะถูกกำหนดโดยหน่วยประมวลผล (Processor)
3) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting) เป็นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับคำสั่งได้อย่างถูกต้องต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติตามคำสั่งและขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ ได้กำหนดไว้
4) ความน่าเชื่อถือ (Sure) ความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคำสั่งและข้อมูลที่นักคอมพิวเตอร์ได้ กำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์











โดย: น.ส.สุวรรณี ระวะใจ หมู่เรียนที่ 22 อังคารเช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:10:36:03 น.  

 

5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน

ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้


ที่มา

//cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010459_%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5#.E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.94.E0.B8.B5.E0.B8.82.E0.B8


โดย: น.สชไมพร ตะโคตร ม.29 พุธ(ช้า) 520404103 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:29:37 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ
การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน

ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้


ที่มา

//cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010459_%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5#.E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.94.E0.B8.B5.E0.B8.82.E0.B8








โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า51040901250สาขา นิติศาสตร์ หมู่ 01(จันทร์-บ่าย) IP: 222.123.14.135 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:11:59:58 น.  

 
สามารถใช้ในงาน
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670


โดย: ส.ต.ต.หญิงพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช 05 รูปแบบพิเศษ 51241151133 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:11:35:25 น.  

 
ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html


โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151128 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:11:35:59 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:11:36:30 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html



โดย: นายปิยะ หอมชื่น หมู่ 05 51241151144 IP: 125.26.172.63 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:11:47:18 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm





โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:19:59:41 น.  

 
สามารถใช้ในงาน
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670


โดย: จ.ส.ต. หญิง พรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:54:08 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ การประมวลผลข้อมูล เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบเก่าแก่ที่มีผู้ใช้มานานแล้ว ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล (Process) ให้เป็นเอกสารธุรกิจจัดทำรายงาน หรือดำเนินการอื่น ๆ
ตัวอย่างของระบบประมวลผลข้อมูลได้แก่ ระบบจ่ายเงินเดือน ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการมาปฏิบัติงานของพนักงาน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบประมวลผลข้อมูลนั้นไม่ซับซ้อน เป็นเพียงระบบงานที่อาศัยระบบแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ดี และมีโปรแกรมที่เหมาะสมเท่านั้นงานประมวลผลข้อมูลมีสองลักษณะ ลักษณะแรกเป็นการประมวลผลที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องโต้ตอบ เรียกว่าการประมวลผลแบบแบตช์ ( Batch Processing) ส่วนประการประมวลผลอีกลักษณะหนึ่งนั้น ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องโต้ตอบกับเครื่องตลอดเวลาที่โปรแกรมทำงาน เราเรียกว่าเป็นการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive Processing)

ที่มา:
www.cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm






โดย: จ.ส.อ. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:56:28 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

-ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา: //scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/ismarket/project/Unit4


โดย: จ.ส.ต. เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่05 รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:14:58:13 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ -ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา: //scitech.rmutsv.ac.th/Departments/w/e-learning/ismarket/project/Unit4










โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:48:18 น.  

 
ตอบคำถาม
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

-ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm






โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:06:01 น.  

 
ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html





โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:26:02 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์ (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:00:47 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html




โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:02:03 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)

เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน
การประมวลผลข้อมูล สามารถกระทำได้โดย 3 กรรมวิธีหลักคือ
(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข



ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php

ที่มา https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=11-06-2009&group=8&gblog=5


โดย: นางสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:21:03:13 น.  

 
ระบบประมวลผลข้อมูล
(Transaction Processing : TPS)

--------------------------------------------------------------------------------
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว



โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:14:19:26 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm
นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:12:08:44 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไรตอบ เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบเก่าแก่ที่มีผู้ใช้มานานแล้ว ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล (Process) ให้เป็นเอกสารธุรกิจจัดทำรายงาน หรือดำเนินการอื่น ๆ

ตัวอย่างของระบบประมวลผลข้อมูลได้แก่ ระบบจ่ายเงินเดือน ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการมาปฏิบัติงานของพนักงาน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบประมวลผลข้อมูลนั้นไม่ซับซ้อน เป็นเพียงระบบงานที่อาศัยระบบแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ดี และมีโปรแกรมที่เหมาะสมเท่านั้น

งานประมวลผลข้อมูลมีสองลักษณะ ลักษณะแรกเป็นการประมวลผลที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องโต้ตอบ เรียกว่าการประมวลผลแบบแบตช์ ( Batch Processing) ส่วนประการประมวลผลอีกลักษณะหนึ่งนั้น ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องโต้ตอบกับเครื่องตลอดเวลาที่โปรแกรมทำงาน เราเรียกว่าเป็นการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive Processing)
ที่มา //gold.rajabhat.edu/learn/4000107/Unit4/Unit4_6.htm






โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:19:48:03 น.  

 

สามารถใช้ในงาน
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670


โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:11:27:10 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ การประมวลผลข้อมูล เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบเก่าแก่ที่มีผู้ใช้มานานแล้ว ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล (Process) ให้เป็นเอกสารธุรกิจจัดทำรายงาน หรือดำเนินการอื่น ๆ
ตัวอย่างของระบบประมวลผลข้อมูลได้แก่ ระบบจ่ายเงินเดือน ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการมาปฏิบัติงานของพนักงาน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบประมวลผลข้อมูลนั้นไม่ซับซ้อน เป็นเพียงระบบงานที่อาศัยระบบแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ดี และมีโปรแกรมที่เหมาะสมเท่านั้นงานประมวลผลข้อมูลมีสองลักษณะ ลักษณะแรกเป็นการประมวลผลที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องโต้ตอบ เรียกว่าการประมวลผลแบบแบตช์ ( Batch Processing) ส่วนประการประมวลผลอีกลักษณะหนึ่งนั้น ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องโต้ตอบกับเครื่องตลอดเวลาที่โปรแกรมทำงาน เราเรียกว่าเป็นการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive Processing)

ที่มา:
www.cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm

นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:13:35:36 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)
เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน
การประมวลผลข้อมูล สามารถกระทำได้โดย 3 กรรมวิธีหลักคือ
(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข

ที่มา //science.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22 (อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:24:37 น.  

 
5.ระบบประมวลผลข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไร ก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น
องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น
ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว


ที่มา //sumana20.tripod.com/41.html



นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:16:32:25 น.  

 
ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น



//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.html


โดย: ศุภชัย จันทาพูน IP: 202.29.5.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:12:53:11 น.  

 

สามารถใช้ในงาน
งานที่มีข้อมูลเป็นจำนวนมาก ๆ
งานที่ต้องมีการคำนวณที่ซับซ้อน
งานที่ต้องการความละเอียดถูกต้องสูง
งานที่ต้องการผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว
งานที่มีขั้นตอนการทำงานกับข้อมูลแต่ละชุดเหมือนกัน การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ยังมีข้อดีที่ทำให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ต่อเนื่องกันได้อย่างครบวงจร เช่น ร้านค้าต่างๆ เมื่อมีข้อมูลจากการสั่งสินค้า สามารถนำรายการสั่งสินค้ามาจัดสินค้าเพื่อเตรียมส่งให้ลูกค้า ทำการตัดปริมาณสต๊อกสินค้าออก พร้อมกับพิมพ์ใบแจ้งหนี้หรือใบเสร็จรับเงิน เมื่อลูกค้าจ่ายเงินก็สามารถบันทึกสถานะและนำข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินไปทำการบันทึกรายการบัญชีประจำวัน ในระบบบัญชี เมื่อสิ้นเดือนสามารถนำข้อมูลจากการขายสินค้ามาคิดค่าคอมมิชชั่นให้แก่พนักงานขาย ใช้รายการลงบัญชีประมวลผลปิดงบบัญชีประจำเดือน นำรายการตัดสต๊อกไปช่วยในการสั่งสินค้าเข้า ผู้จัดการสามารถวิเคราะห์การขายได้จากการนำข้อมูลการขายมาทำยอดรวมสรุปแยกตามรายเดือนในแต่ละปี เพื่อเปรียบเทียบการขายในเดือนต่างๆ และในแต่ละปีก็ยังนำข้อมูลทั้งหมดมาสรุปประจำปีได้ ข้อมูลสรุปจากรายการต่างๆ นอกจากการจัดพิมพ์แบบฟอร์มรายงานในรูปตารางก็อาจนำมาแสดงในรูปกราฟให้เห็นทั้งแนวโน้มและการเน้นจุดสำคัญเพื่อแสดงส่วนแบ่งต่างๆ และนำมาจัดรูปแบบการแสดงให้มีความสวยงานเพื่อนำไปจัดพิมพ์ในรายงานประจำปีของกิจการ นำไปจัดทำข้อมูลเพื่อนำเสนอ (presentation) ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือคณะกรรมการบริหารกิจการ
ที่มา //cp101km.swu.ac.th/index.php/51102010670


โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่ 22 อังคาร(เช้) IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:17:33 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

คำตอบคือ...

(1) การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข

ที่มา...
//cp101km.swu.ac.th/index.php/


โดย: นาย วัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:14:05:55 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ (Manual Data Processing) (2) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักร (Mechanical Data Processing) และ(3) การประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องประมวลผลอิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing) สำหรับระบบงานในระดับที่ข้อมูลมีปริมาณไม่มากนัก มีการคำนวณที่ไม่ซับซ้อน และไม่ต้องการความรวดเร็วในการทำงาน สามารถทำได้โดยการประมวลผลข้อมูลด้วยมือหรือเครื่องจักร การประมวลผลด้วยมือและเครื่องจักรหมายถึงการใช้แรงและสมองของผู้ปฏิบัติการ ร่วมกับเครื่องเขียน เช่น แผ่นกระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ และเครื่องมือช่วยที่ไม่สามารถทำงานต่อเนื่องเป็นระบบอัตโนมัติ เช่นการใช้เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข






โดย: นาย เกรียงไกร สลับศรี จ.บ่าย หมู่1 IP: 192.168.10.115, 117.47.12.205 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:21:21:33 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)


//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm






โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 รหัส 52040332107 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:12:39:15 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:16:12:16 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
โครงสร้างข้อมูล.(Data Structure)
ในการนำข้อมูลไปใช้นั้น เรามีระดับโครงสร้างของข้อมูลดังนี้

1. บิต (Bit) คือ ข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้ งานได้ ซึ่งได้แก่ เลข 0 หรือ เลข 1 เท่านั้น
2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครื่องหมายต่างๆ ซึ่ง 1 ไบต์จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว เป็นต้น
3. ฟิลด์ (Field) ได้แก่ ไบต์ หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว(ID) ชื่อพนักงาน(name) เป็นต้น
4.เรคคอร์ด (Record) ได้แก่ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัว ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอร์ด
5. ไฟล์ (Files) หรือ แฟ้มข้อมูล ได้แก่ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น ข้อมูลของประวัติพนักงานแต่ละคนรวมกันทั้งหมด เป็นไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลเกี่ยวกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นต้น
6.ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์ข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องกันมารวมเข้าด้วยกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลของแผนกต่างๆ มารวมกัน เป็นฐานข้อมูลของบริษัท เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm



นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)


โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.147.7.66 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:11:31:21 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm


โดย: นางสาวปาริฉัตร สาริมุ้ย หมู่ 1จันทร์บ่าย IP: 119.42.110.112 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:17:14:33 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)
ระบบประมวลผลข้อมูล
(Transaction Processing : TPS)
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)
ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ
- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น
- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น
- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว
ที่มา //jittpanyaphong.tripod.com/Page4.2.htm


โดย: นางสาวปัทมาวดี ไชยลา หมู่1 เรียนวันจันทร์บ่าย IP: 119.42.110.3 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:15:02:06 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่
เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน
ที่มา //jittpanyaphong.tripod.com/Page4.2.htm



โดย: น.ส. สุกัญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:13:27:32 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

การประมวลผลข้อมูล เป็นการประยุกต์คอมพิวเตอร์แบบเก่าแก่ที่มีผู้ใช้มานานแล้ว ข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล (Process) ให้เป็นเอกสารธุรกิจจัดทำรายงาน หรือดำเนินการอื่น ๆ

ตัวอย่างของระบบประมวลผลข้อมูลได้แก่ ระบบจ่ายเงินเดือน ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการมาปฏิบัติงานของพนักงาน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบประมวลผลข้อมูลนั้นไม่ซับซ้อน เป็นเพียงระบบงานที่อาศัยระบบแฟ้มข้อมูล หรือฐานข้อมูลที่ดี และมีโปรแกรมที่เหมาะสมเท่านั้น

งานประมวลผลข้อมูลมีสองลักษณะ ลักษณะแรกเป็นการประมวลผลที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องโต้ตอบ เรียกว่าการประมวลผลแบบแบตช์ ( Batch Processing) ส่วนประการประมวลผลอีกลักษณะหนึ่งนั้น ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องโต้ตอบกับเครื่องตลอดเวลาที่โปรแกรมทำงาน เราเรียกว่าเป็นการประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive Processing)

//gold.rajabhat.edu/learn/4000107/Unit4/Unit4_6.htm


โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 222.123.58.158 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:14:35:23 น.  

 
5.ระบบประมวลผลข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไร ก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น
องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น
ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว


ที่มา //sumana20.tripod.com/41.html


โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา IP: 124.157.129.36 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:46:56 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ซึ่งมีลักษณะเป็นเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลเบื้องต้น เป็นการประมวลข้อมูลที่เป็นการดำเนินงานประจำวันภายในองค์ การประมวลข้อมูลในยุคก่อนที่จะมีการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ จะเป็นการประมวลผลด้วยมือหรือใช้เครื่องคำนวณช่วย ต่อมามีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการประมวลผลโดยเฉพาะในระบบธุรกิจเพื่อช่วยงานประจำ เช่น การสั่งซื้อสินค้า การจัดระบบสินค้าคงคลัง การทำบัญชีต่าง ๆ แต่ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบสารสนเทศได้เต็มที่เพราะเอกสารส่วนมากถูกนำไปใช้เกี่ยวกับงานประจำวัน เช่น การบันทึกรายการบัญชี การบันทึกยอดขายประจำวัน การออกใบแจ้งหนี้ เป็นการบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวันซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะซ้ำ ๆ ทุกวัน มากกว่าจะใช้เพื่อการบริหาร หรือการ TPS เป็นขั้นตอนเบื้องต้นในการทำหน้าที่ผลิตสารสนเทศ แล้วส่งไปยังระดับต่อไป โดยจะนำข้อมูลเบื้องต้นเหล่านี้เข้ามาเพื่อ ทำการประมวลผล ปัจจุบันระบบประมวลรายการมักนิยมใช้กับการประมวลผลแบบออนไลน์ (On - line Processing)คือข้อมูลต่าง ๆ จะถูกประมวลผลทันทีที่เข้าสู่ระบบ มักนิยมใช้กับงานธุรกิจประจำวัน ผู้ใช้ระบบ TPS ได้แก่ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลพนักงานลงบัญชี พนักงานรับสั่งจอง เป็นต้น

//www.geocities.com/jirawan_aop/work1.htm


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.22.110 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:1:34:05 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่งนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฎิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเเก็บอยู่ในระบบได้ อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)

ที่มา//cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4life/tech.htm



โดย นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ เรียนวันพฤหัส ตอนเช้า เวลา 08.00-12.00น. หมู่08


โดย: นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ IP: 125.26.164.252 วันที่: 5 ตุลาคม 2552 เวลา:9:48:14 น.  

 
นส.เพ็ญนภา เจริญทรง
49240428132 ม.05
ส.13.00-16.00 น.

5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ระบบประมวลผลข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing Systems หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำ (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือ ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกันข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์ และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือรายงานประจำเดือน เป็นต้น

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (Operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลหรือสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บอยู่ในระบบได้

อย่างไรก็ดี ข้อมูลในระบบประมวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญ สำหรับนำไปประมวลผลในระบบระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System)
ที่มา//rbu.rbru.ac.th/~bangkom/miprocess.htm


โดย: นส.เพ็ญนภา เจริญทรง IP: 192.168.0.109, 180.183.67.230 วันที่: 6 ธันวาคม 2552 เวลา:14:39:10 น.  

 
แบบฝึกหัด
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ
ระบบประมวลผลข้อมูล (DP)


ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System : DP) หรือ
ระบบประมวลผลรายการประจำ(Transaction Processing System : TPS) หรือ
ระบบประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing : EDP)




เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายงานประจำวัน (Transaction) และการเก็บรักษาข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดของธุรกิจเท่านั้น เช่น ฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยแต่ละฝ่ายมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไฟล์และไฟล์ต่างๆ จะถูกแก้ไขระหว่างการประมวลผลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำเดือน


โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.243 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:16:59:12 น.  

 
ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร
ตอบ
ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว


โดย: **** นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ หมู่ 8 พฤหัสบดี เช้า) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.241 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:17:33:31 น.  

 
5.1. ระบบประมวลผลข้อมูล มีคุณลักษณะเด่นอย่างไร

ตอบ

ระบบประมวลผลข้อมูล (Data Processing System หรือ DP) หรือบางครั้งเรียกว่า ระบบประมวลผลรายการประจำวัน (Transaction Processing System หรือ TPS) หรือระบบประมวล ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Processing หรือ EDP) เป็นการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการข้อมูลขั้นพื้นฐาน เกือบทั้งหมดจะประมวลผลในลักษณะ On-Line โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจำวัน (transaction) และการเก็บรักษาข้อมูล
ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะทำงานอยู่เฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของธุรกิจเท่านั้น เช่นฝ่ายการเงินและบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายการตลาด เป็นต้น โดยเฉพาะแต่ละฝ่ายจะมีการประมวลผลที่แยกจากกัน ข้อมูลจะถูกป้อนและจัดเก็บอยู่ในรูปของไพล์ และไพล์ต่างๆ จะถูกแก้ไข ระหว่างการประมวลรายการประจำวัน จากนั้นผลลัพธ์จะถูกแสดงออกมาตามคาบเวลาที่กำหนด เช่น ใบส่งของ หรือ รายงานประจำปี

ระบบประมวลผลข้อมูลมักจะถูกใช้งานได้ถึงระดับของผู้บริหารระดับปฏิบัติการ (operational management) เท่านั้น เนื่องจากระบบชนิดนี้จะไม่ยืดหยุ่น และไม่สามารถสนองความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ได้จัดเก็บในระบบได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลในระบบประ มวลผลข้อมูลจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับนำไปประมวลผลในระดับสูงอื่นๆ ซึ่งมีความยืดหยุ่นพอที่จะให้สารสนเทศเพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในสภาวะแวดล้อมที่มักจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ นั่นคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)

ลักษณะเด่นของ TPS คือการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เช่นงานด้านธุรกิจบริการ สิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้คือ

- ลดจำนวนพนักงาน(เสมียน)ในการบันทึกรายการบัญชี ข้อมูลใบรับสินค้า ใบส่งสินค้า เช็ครับ เช็คจ่าย ใบแจ้งหนี้ รายการซื้อและ อื่นๆ ในกรณีนี้จะใช้พนักงานกรอกข้อมูลเข้าระบบคอมพิวเตอร์เพียงคนเดียวเท่านั้น

- องค์กรจะมีบริการที่สะดวกรวดเร็วแก่ผู้บริโภคมากขึ้น เช่นช่วยลดขั้นตอนและเวลาในการยืม-คืนค้นหาวิดีโอของร้นเช่าวีดีอเป็นต้น

- ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากบริการที่ดี สะดวกและรวดเร็ว





โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.244 วันที่: 19 มกราคม 2553 เวลา:14:12:41 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com