เกลียดจริง ๆ คนไม่จริงใจ
 
6. ชื่อและหมายเลขประจำเครื่องในเครือข่าย

IP Address คือ
หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น
กำหนดให้ ip address (เป็นหมายเลข 3 หลัก 4 กลุ่ม) มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ระบบหมายเลขประจำเครื่องมีข้อบกพร่องคือ จำยากและไม่ได้สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปได้ทราบ ดังนั้น จึงมีการใช้ระบบชื่อของเครื่อง (Domain Name System : DNS) ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนหมายเลข IP Address มาเป็นชื่อที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจกัน
เช่น
Moe.go.th
udru.ac.th
microsoft.com





Domain Name System : DNS

การเชื่อมต่อสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์ในระบบ internet นั้นใช้มาตรฐาน TCP/ IP ที่เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นต้องมีหมายเลข IP Address ไม่ซ้ำกัน ซึ่งใช้ เวลาติดต่อสื่อสารระหว่างกัน โดยจะอ้างถึงหมายเลขประจำตัวเครื่องปลายทางที่เราติดต่อได้ทันที โดยปกติเครื่อง Web Server จะมี IP Address ทั้งนี้เกิดปัญหาในการจำ เพราะว่า IP Address มีตัวเลขถึง 12 ตัว จากจุดนี้เลยได้มีการคิดที่จะแปลง IP Address ให้เป็นชื่อที่จำได้ง่าย Domain Name System จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อใช้ชื่อแทนที่หมายเลข IP ฉะนั้น DNS คือระบบการแปลงค่าระหว่าง IP Address และชื่อเครื่อง(Host) เช่น IP Address "172.5.0.1" เรียกเป็น "www.udru.ac.th" (เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี)

การกำหนดชื่อใน DNS จะเรียงลำดับความสำคัญจากขวาไปซ้าย โดยมีจุดคั่น เช่น Udru.ac.th จะอ่านได้ว่า th มาจากประเทศไทย, ac หน่วยงานการศึกษา, udru ชื่อหน่วยงานในที่นี้คือ มรภ.อุดรธานี



รูปแบบชื่อโดเมน มี 3 รูปแบบใหญ่ ๆ

1. โดเมนขั้นสูงสุด - Top Level Domain ชื่อทางด้านขวาสุดแบ่งย่อยเป็น 2 รูปแบบ คือ
- รูปแบบโดเมนขั้นสูงสุดแบบสากล (General Internet DNS Top Level Domains : gTLDs) เป็นรูปแบบมาตรฐานที่ใช้กันโดยเฉพาะในอเมริกาซึ่งลงท้ายด้วย .com .net .org .biz .info เป็นต้น

- รูปแบบโดเมนขั้นสูงสุดแต่ละประเทศ(Country Code top Level Domains : ccTLDs) บ่งบอกถึงประเทศเจ้าของโดเมนหรือที่ตั้งโดเมนมักใช้กับประเทศอื่นยกเว้นอเมริกา เช่น .th ประเทศไทย, .jp ประเทศญี่ปุ่น, .uk ประเทศอังกฤษ เป็นต้น

.au = Australia
.sg = Singapore
.th = Thailand
.tw = taiwan
.uk = United Kingdom
.jp = Japan


2. โดเมนขั้นที่สอง - Second Level Domain เป็นชื่อถัดมาลำดับที่ 2 จะเป็นลักษณะการดำเนินงานขององค์กร แบ่งเป็น 2 ส่วน

-ลักษณะการดำเนินงานขององค์กรในประเทศไทย เช่น

.co = Commercial หน่วยงานทางธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน
.ac = Academic หน่วยงานสถาบันทางการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย
.go = Government หน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง ทบวง กรม
.or = Organization หน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร
.mi = Military หน่วยงานด้านความมั่นคง (ทหาร)
.net = Network หน่วยงานที่ให้บริการทางด้านเครือข่ายสื่อสาร
.in = Individual เว็บไซต์ส่วนบุคคล


- ลักษณะการดำเนินงานขององค์กร ยกเว้นประเทศไทย เช่น

.com = Commercial หน่วยงานทางธุรกิจ บริษัท ห้างร้าน
.edu = Education หน่วยงานสถาบันทางการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย
.gov = Government หน่วยงานของรัฐบาล เช่น กระทรวง ทบวง กรม
.org = Organization หน่วยงานหรือองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไร
.mil = Military หน่วยงานด้านความมั่นคง (ทหาร)
.net = Network หน่วยงานที่ให้บริการทางด้านเครือข่ายสื่อสาร


3. โดเมนขั้นที่สาม - Third Level Domain เป็นลำดับที่ 3 นับจากด้านขวามือ เป็นชื่อที่สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปสามารถจดจำได้
เช่น
udru = มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
Microsoft = บริษัทไมโครซอฟต์
moe = กระทรวงศึกษาะการ



แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา





Create Date : 01 เมษายน 2552
Last Update : 12 มิถุนายน 2552 10:41:29 น. 93 comments
Counter : 4831 Pageviews.

 
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: นายิกา อินทิสาร ม .08 52040302121 เรียนพฤหัสเช้า IP: 1.1.1.203, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:10:58:27 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:06:58 น.  

 
วิธีการดู IP ขั้นพื้นฐาน
1111ใครที่เป็น Hacker ก็คงจะคุ้นเคยกะ IP ดีครับ IP Address คือ หมายเลยประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่รู้จะอธิบายงัยดี คือว่าคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่ในระบบ Internet จะต้องมีหมายเลขประจำเครื่องไม่ซ้ำกัน จึงต้องมี IP Address เพื่อเป็นตัวชี้เฉพาะว่าเครื่องไหนเป็นเครื่องไหน ในระบบเมื่อมีการติดต่อสื่อสาร IP Address จะเป็นตัวกำกับข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปยังเป้าหมายได้ถูกต้อง พูดง่ายๆก็คือ IP Address เปรียบเหมือนบ้านเลขที่นั่นเอง
IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . เช่น 206.66.155.65
ถ้าหากเรารู้ IP ก็เหมือนกับว่าเรารู้ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น Hacker ก็อาจจะสามารถ ลบข้อมูลของเครื่องคุณได้โดยใช้ IP Address เป็นตัวระบุเป้าหมาย หรือไม่บางทีอาจเป็นพวกที่ชอบแกล้งคน ก็ทำให้ CD-Rom เราเปิดปิดเองได้ครับ อิอิอิ ผมจะพาไปดูการดู IP อย่างง่ายครับ โดยดูจาก กระทู้ หรือ เวบบอร์ดต่างๆครับ ก็ยกตัวอย่างจาก Webboard ของ Pantip นะ
ใน Internet Explorer ที่เพื่อนๆใช้ท่อง Web กัน ให้ไปคลิ๊กที่ View แล้วเลือก Source ดังรูป จะเป็นการดู Source Code ของกระทู้นี้ ซึ่งมี IP Address อยู่ด้วย
จากที่ได้กล่าวไปตอนต้นว่า IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . ทำให้เราสามารถรู้ได้ว่า ข้อมูลส่วนไหนคือ IP Address

ที่มา //www.geocities.com/ipcpu/part4/ipaddress.htm


โดย: นางสาววิภาวี พลวี (หมู่ 08 พฤ เช้า ) IP: 125.26.168.206 วันที่: 17 มิถุนายน 2552 เวลา:17:20:20 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง


โดย: นางสาวเกศรินทร์ ไชยปัญญา หมู่( 08 พฤ เช้า) IP: 172.29.85.71, 58.137.131.62 วันที่: 29 มิถุนายน 2552 เวลา:17:34:42 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc


โดย: น.ส. วริศรา ทิมแดง (ม.08 พฤ. เช้า ) IP: 172.29.85.1, 58.137.131.62 วันที่: 3 กรกฎาคม 2552 เวลา:8:53:28 น.  

 
ข้อ 1 ปกติแล้ว IP Address คือรหัสประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร



วิธีการดูทำได้ดังนี้
คลิกที่ Start แล้ว Run พิมพ์ cmd กด OK
พิมพ์คำว่า ipconfig /all
แล้วให้ดูที่คำว่า IP Address นั่นละ คือ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ที่มา //gotoknow.org/blog/mcom/221497


โดย: นางสาว ปาริสา แคนหนอง 52040332140 หมู่ 15 ศุกร์ (เช้า) IP: 125.26.237.28 วันที่: 7 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:41:39 น.  

 
ข้อ 1 IP Address ประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราว่าเราจะดูได้อย่างไร

วิธีการดูทำได้ดังนี้

•คลิกที่ Start Run พิมพ์ cmd กด OK
•พิมพ์คำว่า ipconfig /all
•แล้วให้ดูที่คำว่า IP Address นั่นละคือ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ที่มา คิดเองคะ่


โดย: นางสาว อนุสรา แคนหนอง 52040332139 หมู่เรียน 15 ศุกร์ เช้า IP: 125.26.237.28 วันที่: 7 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:44:07 น.  

 
6.1
1. ที่ Desktop (หน้าจอ) ไปที่ My Network Places คลิกขวา และเลือก Properties
2. ให้คลิกขวาที่ Local Area Connection และเลือก Properties
3. ให้เลือก Internet Protocol [TCP/IP] และกดปุ่ม Properties


ที่มา //www2.djop.moj.go.th/itzone1/ebook/ShowIP.doc


โดย: นางสาวเจนจิรา จุตตะโน หมู่ 8 พฤหัส(เช้า) รหัส 52040302126 IP: 117.47.232.108 วันที่: 12 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:01:32 น.  

 

IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: นางสาววิภายี กลางหล้า ม. 15 ศุกร์เช้า IP: 192.168.1.102, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:15:59:31 น.  

 
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80






โดย: นางสาว ธัญธิตา แก้วมีศรี ม. 15 ศุกร์เช้า 52041151239 IP: 192.168.1.104, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:08:28 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้



1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไป

//thaiipcop.blogka.com/3706/%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html



โดย: นส.บลสิการ ดอนโสภา หมู่15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151217 IP: 192.168.1.115, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:16:24 น.  

 
ที่ Windows ให้คลิ๊กที่ Start Run... แล้วพิมพ์คำสั่งว่า cmd /k ipconfig คุณจะสามารถดู ip


โดย: นางสาวอรนิดา วรินทรา ม. 15 ศ.เช้า IP: 192.168.1.103, 125.26.167.254 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:16:18:54 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบข้อ 6.1
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc


โดย: นายบดินทร์ แก้วมีศรี หมู่ 01 (พิเศษ) 52240210214 สาธารณสุขศาสตร์ IP: 119.42.83.148 วันที่: 13 กรกฎาคม 2552 เวลา:21:52:43 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
= ชื่อและหมายเลขไอพี
อินเทอร์เน็ตมีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่เป็นล้านเครื่อง หลายคนอาจตั้งข้อสังเกตว่า เราส่งอีเมลไปยังปลายทางได้อย่างไร หรือเมื่อเราต้อง-การล็อกอิน (login) เข้าเครื่องอื่นที่อยู่บนเครือข่ายระบบเครือข่ายรู้ได้อย่างไรว่า เครื่องนั้นอยู่ที่ใดการอ้างอิงเข้าหากันเพื่อหาตำแหน่งที่อยู่จึงต้องมีการจัดระบบที่ดี เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่มีการออกแบบมาเพื่อให้สามารถติดต่อรับส่งข้อมูลถึงกันได้ทั้งหมด อีกทั้งทำให้ขยายเครือข่ายได้ง่ายและเป็นระบบ

รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง

คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่อยู่บนเครือข่ายจะมีรหัสหมายเลขประจำเครื่อง รหัสหมายเลขนี้เรียกว่า ไอพีแอดเดรส (IP address) ตัวเลขไอพีแอดเดรสของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องไม่ซ้ำกัน ตัวเลขนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์การนำไปปฏิบัติ โดยผู้ที่จะสร้างเครือข่ายต้องการทำการขอหมายเลขประจำเครือ-ข่ายเพื่อกำหนดส่วนขยายต่อสำหรับแต่ละเครื่องเอาเอง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ขององค์กรหนึ่งทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์เมลของเครือข่างองค์กร มีหมายเลขไอพีเป็นตัวเลขประจำเครื่อง ขนาด ๓๒ บิต ซึ่งแบ่งเป็น ๔ ฟิลด์ดังตัวอย่างเช่น

แต่ละฟิลด์จะมี ๘ ชนิด แต่เมื่อเรียกขานรหัสหมายเลขไอพีนี้ จะใช้ตัวเลขฐานสิบ แบ่งเป็น ๔ ชุด โดยมีจุด (.) คั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด ดังนั้น จากตัวเลข ๓๒ บิต ดังกล่าวเรียกได้เป็น

ตัวเลขไบนารี ๓๒ หลัก เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยาก แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ใช้เลขเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง เมื่อกำหนดตัวเลข ๔ ฟิลด์ แต่ละฟิลด์จึงมีขนาดได้ตั้งแต่ ๐ ถึง ๒๕๕ เมื่อนำมาเรียงกันแล้วจะทำให้จำได้ง่ายขึ้น

ใช้ชื่อแทนหมายเลข
เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้น และการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่อแทนรหัสหมายเลขไอพี การตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย มีระบบที่เป็นมาตรฐานที่กำหดนเป็นลำดับชั้น ชื่อแต่ละชื่อที่กำหนดขึ้นใช้แทนรหัสไอพี เช่น //www.nextec.or.th ซึ่งแทนหมายเลข 192.150.251.33 หรือเครื่อง nwg.nectec.or.th ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ของ NECTEC ใช้รหัส 192.150.251.31ดังนั้น เครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจึงมีการตั้งชื่อเครื่องเพื่อให้รู้จักกันได้ง่ายขึ้น การตั้งชื่อมีการแบ่งเป็นลำดับชั้น ตัวที่อยู่ขวามือสุดคือชื่อย่อประเทศ เช่น th หมายถึง ประเทศไทยดังนั้น ทุกประเทศที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีรหัสชื่อย่อประเทศอยู่ ตัวอย่างรหัสชื่อย่อประเทศแสดงการแบ่งโซนของกลุ่มองค์กรที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และยังแบ่งตามประเภทขององค์กรเพื่อให้ทราบจุดประสงค์ขององค์กรที่ต่ออยู่บนเครือข่ายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแบ่งกลุ่มนี้จึงอยู่ในระดับที่ ๒ เช่น กลุ่มธุรกิจการค้า บริษัทเอกชนก็ใช้ co หรือ com กลุ่มสถาบันการศึกษาก็ใช้ edu หรือ ac เป็นต้น

ที่มา
//guru.sanook.com/search/%E0%B8%A3%E0


โดย: นางสาว อุไรวรรณ หาญศึก หมู1 (พิเศษ)พฤ. ค่ำ IP: 124.157.145.152 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:11:22:37 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

ที่มา //www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: นางสาว สุทธิดา ยาโ 52240210217 วัน พฤหัสฯค่ำ หมู่ 1 IP: 124.157.145.152 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:11:26:18 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ ชื่อและหมายเลขไอพี
อินเทอร์เน็ตมีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่เป็นล้านเครื่อง หลายคนอาจตั้งข้อสังเกตว่า เราส่งอีเมลไปยังปลายทางได้อย่างไร หรือเมื่อเราต้อง-การล็อกอิน (login) เข้าเครื่องอื่นที่อยู่บนเครือข่ายระบบเครือข่ายรู้ได้อย่างไรว่า เครื่องนั้นอยู่ที่ใดการอ้างอิงเข้าหากันเพื่อหาตำแหน่งที่อยู่จึงต้องมีการจัดระบบที่ดี เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่มีการออกแบบมาเพื่อให้สามารถติดต่อรับส่งข้อมูลถึงกันได้ทั้งหมด อีกทั้งทำให้ขยายเครือข่ายได้ง่ายและเป็นระบบ


[กลับหัวข้อหลัก]

รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง

คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่อยู่บนเครือข่ายจะมีรหัสหมายเลขประจำเครื่อง รหัสหมายเลขนี้เรียกว่า ไอพีแอดเดรส (IP address) ตัวเลขไอพีแอดเดรสของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องไม่ซ้ำกัน ตัวเลขนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์การนำไปปฏิบัติ โดยผู้ที่จะสร้างเครือข่ายต้องการทำการขอหมายเลขประจำเครือ-ข่ายเพื่อกำหนดส่วนขยายต่อสำหรับแต่ละเครื่องเอาเอง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ขององค์กรหนึ่งทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์เมลของเครือข่างองค์กร มีหมายเลขไอพีเป็นตัวเลขประจำเครื่อง ขนาด ๓๒ บิต ซึ่งแบ่งเป็น ๔ ฟิลด์ดังตัวอย่างเช่น

แต่ละฟิลด์จะมี ๘ ชนิด แต่เมื่อเรียกขานรหัสหมายเลขไอพีนี้ จะใช้ตัวเลขฐานสิบ แบ่งเป็น ๔ ชุด โดยมีจุด (.) คั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด ดังนั้น จากตัวเลข ๓๒ บิต ดังกล่าวเรียกได้เป็น

ตัวเลขไบนารี ๓๒ หลัก เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยาก แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ใช้เลขเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง เมื่อกำหนดตัวเลข ๔ ฟิลด์ แต่ละฟิลด์จึงมีขนาดได้ตั้งแต่ ๐ ถึง ๒๕๕ เมื่อนำมาเรียงกันแล้วจะทำให้จำได้ง่ายขึ้น
ใช้ชื่อแทนหมายเลข
เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้น และการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่อแทนรหัสหมายเลขไอพี การตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย มีระบบที่เป็นมาตรฐานที่กำหดนเป็นลำดับชั้น ชื่อแต่ละชื่อที่กำหนดขึ้นใช้แทนรหัสไอพี เช่น //www.nextec.or.th ซึ่งแทนหมายเลข 192.150.251.33 หรือเครื่อง nwg.nectec.or.th ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ของ NECTEC ใช้รหัส 192.150.251.31ดังนั้น เครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจึงมีการตั้งชื่อเครื่องเพื่อให้รู้จักกันได้ง่ายขึ้น การตั้งชื่อมีการแบ่งเป็นลำดับชั้น ตัวที่อยู่ขวามือสุดคือชื่อย่อประเทศ เช่น th หมายถึง ประเทศไทยดังนั้น ทุกประเทศที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีรหัสชื่อย่อประเทศอยู่ ตัวอย่างรหัสชื่อย่อประเทศแสดงการแบ่งโซนของกลุ่มองค์กรที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และยังแบ่งตามประเภทขององค์กรเพื่อให้ทราบจุดประสงค์ขององค์กรที่ต่ออยู่บนเครือข่ายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแบ่งกลุ่มนี้จึงอยู่ในระดับที่ ๒ เช่น กลุ่มธุรกิจการค้า บริษัทเอกชนก็ใช้ co หรือ com กลุ่มสถาบันการศึกษาก็ใช้ edu หรือ ac เป็นต้น
ที่มา
//guru.sanook.com/search/%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%82%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87






โดย: โดยน.ส อังคณา สุทธิแพทย์52240210209หมู่01(พิเศษ)พฤ.ค่ำสาขา สาธารณสุขศาสตร์ IP: 192.168.1.103, 125.26.170.151 วันที่: 16 กรกฎาคม 2552 เวลา:11:26:26 น.  

 
ข้อ 1 ปกติแล้ว IP Address คือรหัสประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร



วิธีการดูทำได้ดังนี้
คลิกที่ Start แล้ว Run พิมพ์ cmd กด OK
พิมพ์คำว่า ipconfig /all
แล้วให้ดูที่คำว่า IP Address นั่นละ คือ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ที่มา //gotoknow.org/blog/mcom/221497


นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1


โดย: นายวีระวิทย์ นาคเสน เรียน วันจันทร์ บ่าย หมู่ 1 IP: 124.157.146.74 วันที่: 23 กรกฎาคม 2552 เวลา:18:09:04 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

-1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: นายอดิศักดิ์ รักวิชา ม.1(พิเศษ) พฤ.ค่ำ 52240427132 IP: 124.157.147.155 วันที่: 24 กรกฎาคม 2552 เวลา:13:16:27 น.  

 
หมายเลข IP Address ที่ทางศูนย์เครื่องมือฯ ได้รับมาจากศูนย์ IT นั้นมีจำกัดแต่ก็เพียงพอต่อการใช้งานของผู้ใช้กว่า 200 คน ดังนันหากมีการจัดการการใช้งานที่ดี ทุกๆ ท่านก็สามารถใช้งาน Internet ได้กันทุกคนครับ

โดยทางเราได้จัดกลุ่ม ของช่วงหมายเลข IP แยกตามกลุ่มการใช้งานในแต่ละโซน ทั้งโซนของ สำนักงาน โซนของห้องปฏิบัติการพื้นฐาน โซนของห้องวิเคราะห์ทดสอบ และโซนของนักศึกษาและอาจารย์ที่มาใช้บริการภายในศูนย์เครื่องมือฯ

โดยในเบื้องต้น หมายเลข IP ที่ห้ามใช้งานคือหมายเลข 10.1.19.1 ซึ่งปัจจุบันเราใช้เป็น IP ของ Printer กลางของศูนย์เครื่องมือฯ , หมายเลข 10.1.19.2 ซึ่งปัจจุบันเราใช้เป็น Server ของระบบคลังวัสดุ และหมายเลข 10.1.19.254 ซึ่งเป็น IP สำหรับใช้เป็น Gatway เพื่อเข้าสู่ Internet ของทุกๆ เครื่องภายในศูนย์เครื่องมือฯ ดังนั้น ห้ามท่านตั้ง IP ของท่าน โดยใช้หมายเลขดังกล่าวนี้ครับ เพื่อประโยชน์ของท่าน และสมาชิกท่านอื่น ที่ใช้งานระบบ Internet ครับ

ส่วนหมายเลขอื่นๆ ให้ท่านสอบถามข้อมูลกับ คุณอิทธิพล (โทร. 6227-8) และ คุณสว่าง (โทร. 6239) เพื่อขอทราบหมายเลขที่ท่านสามารถนำไปใช้งานได้ และทางเราก็จะบันทึกเอาไว้ว่า หมายเลขนี้ถูกนำไปใช้แล้ว เพื่อป้องกันการซ้ำกันของหมายเลข IP

อย่าตั้ง IP กันเองนะครับ เพราะหากตั้งกันเอง ก็อาจเกิดการซ้ำกันของ IP ขึ้น ผลก็คือ ท่านและ เครื่องที่ IP เดียวกับท่าน ก็จะใช้งาน Internet ไม่ได้

อนึ่ง กรณีของการตั้งชื่อเรียกของเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ก็คล้ายกับการตั้งหมายเลข IP ครับ คือต้องไม่ซ้ำกัน เพราะหากซ้ำกันแล้ว ก็อาจเกิดปัญหาในการใช้งาน Internet หรือ การใช้งานในระบบเครือข่าย (พวกแชร์ข้อมูล อะไรประมาณนั้น) ขึ้นได้ ดังนั้น ผมจึงได้ทำเอกสารแนะนำการเปลี่ยนชื่อเรียกของเครื่องมาให้ด้วย เพื่อให้ท่าน ทำการเปลี่ยนแก้ไขชื่อเรียกของครื่องคอมพิวเตอร์ของท่านใหม่ เพราะหากท่านไม่เปลี่ยนแปลงอาจเกิดปัญหาขึ้นได้ เช่น

- หากชื่อซ้ำกัน (มีบางกรณีนะครับ) ก็อาจใช้งาน Internet หรือ แชร์ข้อมูลไม่ได้
- ในบางครื่อง Windows จะสุ่มรหัสเพื่อใช้แทนชื่อเรียกของเครื่อง ผลก็คือ หายาก ว่าเครื่องใครเป็นเรื่องใคร ยิ่งเวลาต้องการแชร์ข้อมูล หรือแชร์เครื่องพิมพ์ (คิดว่าหลายท่านคงเจอมาแล้ว)

อีกปัญหาก็คือการตั้งชื่อ Workgroup ของเครื่อง ศูนย์เครื่องมือฯ ปัจจุบันใช้ชื่อ Workgroup ว่า STI_CENTER นะครับ หากท่านต้องการเข้าถึงเครื่องพิมพ์ หรือ เข้าแชร์ข้อมูลของสมาชิกภายในศูนย์ ก็แนะนำให้ใช้ชื่อนี้ครับ

หากท่านจะใช้ชื่อ Group อื่นก็ได้ครับ แต่ก็อาจเกิดปัญหาในการเชื่อมต่อกันได้ เช่น มองไม่เห็นเครื่องคอมพิวเตอร์ของเพื่อนอีกคน ทั้งๆ ที่เปิดเครื่องแล้ว แชร์เครื่องพิมพ์ไม่ได้ เป็นต้น

กรณี ท่านต้องการตั้งชื่อ Group ชื่ออื่น ผมแนะนำให้ตั้งเป็นกลุ่มห้อง Lab หรือ กลุ่มงานวิจัย (กรณีอาจารย์ หรือนักศึกษานะครับ) โดยชื่อก็ควรเป็นชื่อที่อ่านเข้าใจง่ายๆ เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบและการให้บริการของเราะนะครับ

ที่มา
//www.mfu.ac.th/center/stic/index.php?option=com_content&task=view&id=57&Itemid=64


โดย: น.ส.วิภาดา นาสิงห์ขันธ์ หมู่8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.197, 202.29.5.62 วันที่: 26 กรกฎาคม 2552 เวลา:22:13:36 น.  

 
ชอบจายจาง


โดย: น่ารักจัง IP: 124.157.238.46 วันที่: 27 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:44:48 น.  

 
เรา เป็น คน ใฝ่รู้ อ่า น่ะ สอบ ม่ะ ไหร่ ก่ะ ได้ ที่1 ทุก ปี เรา อยู่ ม.ช. เชียง ไหม่ คร๊ะ


โดย: เด็ก เรียน IP: 124.157.238.46 วันที่: 27 กรกฎาคม 2552 เวลา:9:57:01 น.  

 


วิธีดูหมายเลข IP Address

บางครั้งเราจำหมายเลข IP ของเครื่องไม่ได้เวลาจะดูก็ต้องดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนแสดงระบบเครือข่ายใน Windows XP แต่ถ้าเป็น Windows 98 หรือ ME อาจจะไม่มีรูปไอคอนระบบเครือข่าย เราสามารถใช้คำสั่งดูหมายเลขไอพี ซึ่งใน Windows XP ก็สามารถใ้ช้ได้ดังนี้




สำหรับผู้ใช้ WindowsME & Windows98

1. ให้ไปที่ Start

2. Run

3. พิมพ์ว่า winipcfg แล้ว OK



--------------------------------------------------------------------------------


สำหรับผู้ใช้ Windows XP

1. ให้ไปที่ Start

2. Run

3. พิมพ์ว่า cmd /k ipconfig แล้ว OK





โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ รหัส 50040302112 เรียนบ่าย - จันทร์ หมู่ 1 IP: 115.67.78.222 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:22:20:47 น.  

 
//www.weeonline.in.th/weeonline/modules.php?name=News&file=article&sid=5


ข้างนบลืมใส่ค่ะ


โดย: นางสาวปวีณา บรรยงค์ รหัส 50040302112 เรียนบ่าย - จันทร์ หมู่ 1 IP: 115.67.78.222 วันที่: 29 กรกฎาคม 2552 เวลา:22:22:43 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS
1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

ที่มา:www.thaiipcop.blogka.com/.../%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html


โดย: นางสาวสุภาพร รัตนา 50240210102 วท.บ.สาธารณสุขศาสตร์ (เรียน พฤ-ค่ำ เวลา 17.00-21.00 น.) IP: 117.47.15.227 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:7:44:03 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

คำตอบ...1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไป

//thaiipcop.blogka.com/


โดย: นางสาวศศิวิมล ภาณุพงศ์ภูสิทธิ์ หมู่ 8(พฤหัสเช้า) IP: 1.1.1.49, 58.137.131.62 วันที่: 6 สิงหาคม 2552 เวลา:16:21:07 น.  

 
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ขณะเราต่อเน็ต server จะส่งค่า IP Address ให้กับเครื่องของเรา โดยเราสามารถเช็คได้ดังนี้

1. คลิ้ก start เรียกไดอะล็อกบ็อก RUN ขึ้นมา หรือใช้คีย์ลัดโดยกด windows + R

2. ให้กรอกคำว่า cmd แล้วกดปุ่ม OK จะขึ้นหน้า Command Prompt ของ DOS

3. พิมพ์คำว่า ipconfig ต่อจาก directory ที่ขึ้นมา แล้วกด Enter

4. โปรแกรมจะแสดงหมายเลข IP Address ของเครื่องเราให้ดู

* ถ้าท่านไม่ได้ต่อเน็ตอยู่จะไม่ขึ้นโชว์ค่าของ IP Address มาให้ดู


//www.oknation.net/blog/vistavclub/2008/04/24/entry-1


โดย: นางสาวอรธิรา บัวลา บช.บ.1/3 รหัส 52040501332 พุธ เช้า หมู่ 29 IP: 125.24.137.163 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:16:02:56 น.  

 
การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้



1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม





หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไปครับ

รูปแบบการเชื่อมต่อ

รูปแบบของการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อทำการคอนฟิคโปรแกรม IPCop ให้ทำงาตามที่ต้องการ (ตามรูปภาพการเชื่อมต่อ) นำสายแลนเสียบเข้าการ์ดแลนด้านหลังของเครื่อง ลูกข่าย (User) ปลายสายทีเหลื่อก็นำมาเสียบเข้ากับ Hub ในส่วนของเครื่อง IPCop ก็นำสายแลนมาเสียบเข้าก้บ Hub ปลายสายก็นำเข้าไปเสียบเข้ากับการ์ดแลนใบที่ 1 (eth0) ด้านหลังของเครื่อง IPCop และส่วนของการ์ดใบที่ 2 (eth1) ก็นำสายแลนมาเสียบเข้า Modem Router (อย่าลืมนะครับว่า เครื่อง IPCop จะต้องติดการ์ดแลน 2 ใบจะได้ไม่งงในเรื่องของ Eth







ก่อนหน้านี้ที่ได้ทำการติดตั้งโปรแกรม IPCop ในส่วนของ Green เราได้กรอกหมายเลข IP Address อะไรลงไปกลับไปดูนะครับ หากไม่ได้จดไว้







จากภาพตัวอย่างจะเป็นหมายเลข IP Address 194.168.1.1 NetWork mask : 255.255.255.0 IP Address เลขนี้เรากำหนดขึ้นมาเองครับ จะเป็นเลขอะไรก็ตามต้องการ IP Address นี้จะทำหน้าที่แจกหมายเลข IP Address ให้ลูกข่าย (User) ให้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ และ IP Address นี้อยู่ในลำดับของการ์ดตัวที่ Eth0





Eth0 ทำหน้าที่ไปเรียก IP Address, DNS และ Gateway การ์ดใบที่ 2 Eth1 ออกมานั่นเองครับ



และส่วนของ Eth1 หรือ Red คือเสียบเข้ากับ Router เพื่อออกอินเทอร์เน็ต เราได้กำหนด IP Address ไว้ตามทีได้จดหมายเลขของ IP เอาไว้ก็คือ 192.168.1.33 IP นี้ได้มาจาก Router และ NetWork mask : 255.255.255.0 ก็เหมือนเดิม ในกรณีที่เราจะทำการ Fix IP Address ให้กับเครื่องลูกข่าย (User) เลื่อน Tab เลือกเป็น Static หาก ต้องการกำหนดให้โปรแกรมแจก IP Address ออกมาอัตโนมัติ หรือ DHCP ก็เลือกเป็น DHCP





192.1638.1.xx หรือ RED ก็มาจาก Modem Router จะทำหน้าที่ผลิต IP Addressแจกจ่ายให้กับลูกข่ายต่าง ๆ รวมไปถึง PPPOE, PPTP ก็จะมาจาก RED





กลับไปดูในส่วนของ DNS and Gateway Settings อันนี้สำคัญหากไม่กรอกลงไปให้ถูกต้องจะไม่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างแน่นอนครับ IP Address ต่าง ๆ เหล่านี้ก็มาจาก Router ตัวเดิมนั้นเองครับ เลื่อน Tab ลงไปในส่วนของ DNS and Gateway Settings กด ลงไป ดูรายละเอียดหรือกรอกหมายเลขที่ถูกต้องลงไป



ปกติ DNS ของ Modem Adls หรือ Modem Router จะเป็นเลข 192.168.1.1 Gateway ก็จะเป็น 192.168.1.1 ครับ หาเป็น ISP อื่น ๆ ก็จดหมายเลข DNS และ Gateway เหล่านี้มานะครับแล้วก็กรอกลงไปเท่านั้นเอง

//thaiipcop.blogka.com/3706/%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html




โดย: นายนารายณ์ แก้วภักดี ม.15 ศ. เช้า IP: 124.157.129.16 วันที่: 10 สิงหาคม 2552 เวลา:17:01:35 น.  

 
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc


โดย: นางสาวชลดา บุญรุ่ง (หมู่8 พฤหัส เช้า) IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 15 สิงหาคม 2552 เวลา:15:17:37 น.  

 
วิธีดูหมายเลข IP Address ของเครื่องเรา
สำหรับผู้ใช้ WindowsME & Windows98

ให้ไปที่ Start จากนั้น Run แล้ว พิมพ์ว่า winipcfg แล้ว OK

สำหรับผู้ใช้ Windows XP
ให้ไปที่ Start จากนั้นRun แล้วพิมพ์ว่า cmd /k ipconfig แล้ว OK

โดยรายละเอียดจะบอกถึง Subnet Mask และ Defaut Gateway

ที่มา//freedom-th.com/index.php?topic=157.0


โดย: 52040281122 น.ส. ณัฐติยา โกศิลา สาขาชีววิทยา (จุลชีววิทยา) หมู่ 08 วันพฤหัสเช้า IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 16 สิงหาคม 2552 เวลา:16:33:39 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้



1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop
//thaiipcop.blogka.com/3706/%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html



โดย: สุจิตรา หาฤทธิ์ 51040305111 สาขาภาษาอังกฤษธุรกิจ หมู่ 01 IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 21 สิงหาคม 2552 เวลา:14:28:48 น.  

 

แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ขณะเราต่อเน็ต server จะส่งค่า IP Address ให้กับเครื่องของเรา โดยเราสามารถเช็คได้ดังนี้

1. คลิ้ก start เรียกไดอะล็อกบ็อก RUN ขึ้นมา หรือใช้คีย์ลัดโดยกด windows + R

2. ให้กรอกคำว่า cmd แล้วกดปุ่ม OK จะขึ้นหน้า Command Prompt ของ DOS

3. พิมพ์คำว่า ipconfig ต่อจาก directory ที่ขึ้นมา แล้วกด Enter

4. โปรแกรมจะแสดงหมายเลข IP Address ของเครื่องเราให้ดู

* ถ้าท่านไม่ได้ต่อเน็ตอยู่จะไม่ขึ้นโชว์ค่าของ IP Address มาให้ดู
ที่มา:ที่มา //www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: 52040263105 ชื่อ น.ส.อรวรรณ ไชยยงค์ (สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) หมู่เรียนที่22 (อังคารเช้า) IP: 125.26.165.99 วันที่: 21 สิงหาคม 2552 เวลา:21:44:17 น.  

 
6.1)
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ขณะเราต่อเน็ต server จะส่งค่า IP Address ให้กับเครื่องของเรา โดยเราสามารถเช็คได้ดังนี้

1. คลิ้ก start เรียกไดอะล็อกบ็อก RUN ขึ้นมา หรือใช้คีย์ลัดโดยกด windows + R

2. ให้กรอกคำว่า cmd แล้วกดปุ่ม OK จะขึ้นหน้า Command Prompt ของ DOS

3. พิมพ์คำว่า ipconfig ต่อจาก directory ที่ขึ้นมา แล้วกด Enter

4. โปรแกรมจะแสดงหมายเลข IP Address ของเครื่องเราให้ดู

ที่มา //www.oknation.net/blog/vistavclub/2008/04/24/entry


โดย: น.ส. วิไลวรรณ พงค์พันธ์ ม.29 (พุธเช้า) 52040501303 IP: 124.157.146.50 วันที่: 30 สิงหาคม 2552 เวลา:19:25:09 น.  

 

1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry





โดย: นาย ปิยะ ศรีกุลวงศ์ เสาร์บ่าย 51241151204 IP: 114.128.129.41 วันที่: 31 สิงหาคม 2552 เวลา:15:42:28 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น
กำหนดให้ ip address (เป็นหมายเลข 3 หลัก 4 กลุ่ม) มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ระบบหมายเลขประจำเครื่องมีข้อบกพร่องคือ จำยากและไม่ได้สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปได้ทราบ ดังนั้น จึงมีการใช้ระบบชื่อของเครื่อง (Domain Name System : DNS) ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนหมายเลข IP Address มาเป็นชื่อที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจกัน
เช่น
Moe.go.th
udru.ac.th
microsoft.com


โดย: นางฉวีวรรณ แสงเลิศ 51241151132 รูปแบบพิเศษ รปศ. เรียนเวลา บ่ายโมงวันเสาร์ IP: 117.47.14.74 วันที่: 1 กันยายน 2552 เวลา:20:22:50 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: น.ส ผกาพรรณ หงษ์ทอง หมู่ 1 จันทร์-บ่าย IP: 124.157.151.177 วันที่: 3 กันยายน 2552 เวลา:15:23:51 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้

1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไป



โดย: นาย สุระทิน ใจใส หมู่ 15 ศุกร์เช้า รหัส 52041151202 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:12:54:17 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry





โดย: นางสาววินภา พินิจมนตรี 51241151116 หมู่ 05 IP: 125.26.175.73 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:13:22:23 น.  

 
ข้อ 1 ปกติแล้ว IP Address คือรหัสประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร



วิธีการดูทำได้ดังนี้
คลิกที่ Start แล้ว Run พิมพ์ cmd กด OK
พิมพ์คำว่า ipconfig /all
แล้วให้ดูที่คำว่า IP Address นั่นละ คือ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ที่มา //gotoknow.org/blog/mcom/221497


โดย: นายอัศวิน บัวน้ำอ้อม 51241151118 หมู่ 5 วันเสาร์ IP: 125.26.175.73 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:13:22:51 น.  

 
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80






โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151129 หมู่ 05 รูปแบบพิเศษ IP: 125.26.175.73 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:13:23:20 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง


โดย: ส.ต.ต.หญิงพิพิทย์ชยานันต์ สีลาเวช หมู่ 5 รูปแบบพิเศษ 51241151133 IP: 125.26.175.73 วันที่: 4 กันยายน 2552 เวลา:13:24:29 น.  

 



1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: นางสาวเกษร อัครฮาด รหัสนักศึกษา 52040003135 หมู่ 29 เรียนพุธเช้า IP: 125.26.172.40 วันที่: 7 กันยายน 2552 เวลา:19:41:46 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ 1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry





โดย: ชื่อนายวัชระพงศ์ โคตรชมภู รหัส51040901205สาขานิติศาสตร์หมู่ที่01 (จันทร์-บ่าย) IP: 172.29.5.133, 58.147.7.66 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:14:28:41 น.  

 
ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น


โดย: นายจักรกริช โพธิวงษ์ หมู่ 15 ศุกรเช้า IP: 192.168.1.103, 119.42.83.235 วันที่: 14 กันยายน 2552 เวลา:21:55:43 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง



โดย: นางสาว ศิริพร คมกล้า 51040901250สาขานิติศาสตร์ หมู่ 01 (จันทร์-บ่าย) IP: 222.123.14.135 วันที่: 15 กันยายน 2552 เวลา:12:51:43 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง






โดย: น.ส.สุวรรณี ระวะใจ หมู่ที่ 22 อังคารเช้า IP: 125.26.176.80 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:19:13:50 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น



ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง






โดย: นายวิทวัฒน์ พากุล รหัสนักศึกษา 52042055102 หมู่ 29 ( พุธ เช้า ) IP: 192.168.1.103, 119.42.82.83 วันที่: 16 กันยายน 2552 เวลา:21:14:44 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: นางสาว สมร นาแพงหมื่น 51241151220 หมู่05 เสาร์บ่าย รปศ. IP: 222.123.230.32 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:13:28:35 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

คำตอบข้อ 6.1
-1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry





โดย: นางสาวจุรีพร โดคตชมภุ รหัส 52040332125 พฤหัส (เช้า) หมู่ 8 IP: 172.29.5.133, 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:16:46:24 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
= ชื่อและหมายเลขไอพี
อินเทอร์เน็ตมีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่เป็นล้านเครื่อง หลายคนอาจตั้งข้อสังเกตว่า เราส่งอีเมลไปยังปลายทางได้อย่างไร หรือเมื่อเราต้อง-การล็อกอิน (login) เข้าเครื่องอื่นที่อยู่บนเครือข่ายระบบเครือข่ายรู้ได้อย่างไรว่า เครื่องนั้นอยู่ที่ใดการอ้างอิงเข้าหากันเพื่อหาตำแหน่งที่อยู่จึงต้องมีการจัดระบบที่ดี เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่มีการออกแบบมาเพื่อให้สามารถติดต่อรับส่งข้อมูลถึงกันได้ทั้งหมด อีกทั้งทำให้ขยายเครือข่ายได้ง่ายและเป็นระบบ

รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง

คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่อยู่บนเครือข่ายจะมีรหัสหมายเลขประจำเครื่อง รหัสหมายเลขนี้เรียกว่า ไอพีแอดเดรส (IP address) ตัวเลขไอพีแอดเดรสของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องไม่ซ้ำกัน ตัวเลขนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์การนำไปปฏิบัติ โดยผู้ที่จะสร้างเครือข่ายต้องการทำการขอหมายเลขประจำเครือ-ข่ายเพื่อกำหนดส่วนขยายต่อสำหรับแต่ละเครื่องเอาเอง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ขององค์กรหนึ่งทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์เมลของเครือข่างองค์กร มีหมายเลขไอพีเป็นตัวเลขประจำเครื่อง ขนาด ๓๒ บิต ซึ่งแบ่งเป็น ๔ ฟิลด์ดังตัวอย่างเช่น

แต่ละฟิลด์จะมี ๘ ชนิด แต่เมื่อเรียกขานรหัสหมายเลขไอพีนี้ จะใช้ตัวเลขฐานสิบ แบ่งเป็น ๔ ชุด โดยมีจุด (.) คั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด ดังนั้น จากตัวเลข ๓๒ บิต ดังกล่าวเรียกได้เป็น

ตัวเลขไบนารี ๓๒ หลัก เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยาก แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ใช้เลขเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง เมื่อกำหนดตัวเลข ๔ ฟิลด์ แต่ละฟิลด์จึงมีขนาดได้ตั้งแต่ ๐ ถึง ๒๕๕ เมื่อนำมาเรียงกันแล้วจะทำให้จำได้ง่ายขึ้น

ใช้ชื่อแทนหมายเลข
เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้น และการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่อแทนรหัสหมายเลขไอพี การตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย มีระบบที่เป็นมาตรฐานที่กำหดนเป็นลำดับชั้น ชื่อแต่ละชื่อที่กำหนดขึ้นใช้แทนรหัสไอพี เช่น //www.nextec.or.th ซึ่งแทนหมายเลข 192.150.251.33 หรือเครื่อง nwg.nectec.or.th ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ของ NECTEC ใช้รหัส 192.150.251.31ดังนั้น เครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจึงมีการตั้งชื่อเครื่องเพื่อให้รู้จักกันได้ง่ายขึ้น การตั้งชื่อมีการแบ่งเป็นลำดับชั้น ตัวที่อยู่ขวามือสุดคือชื่อย่อประเทศ เช่น th หมายถึง ประเทศไทยดังนั้น ทุกประเทศที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีรหัสชื่อย่อประเทศอยู่ ตัวอย่างรหัสชื่อย่อประเทศแสดงการแบ่งโซนของกลุ่มองค์กรที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และยังแบ่งตามประเภทขององค์กรเพื่อให้ทราบจุดประสงค์ขององค์กรที่ต่ออยู่บนเครือข่ายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแบ่งกลุ่มนี้จึงอยู่ในระดับที่ ๒ เช่น กลุ่มธุรกิจการค้า บริษัทเอกชนก็ใช้ co หรือ com กลุ่มสถาบันการศึกษาก็ใช้ edu หรือ ac เป็นต้น

ที่มา
//guru.sanook.com/search/%E0%B8%A3%E0






โดย: นายอภิเชษฐ์ หาคำ ม.8 พฤหัส (เช้า) IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:32:13 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

ตอบ คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80





โดย: น.ส.จิตราภรณ์ ภุเกตุ หมู่ 8 พฤหัสเช้า IP: 58.137.131.62 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:17:35:21 น.  

 

วิธีการดู IP ขั้นพื้นฐาน
1111ใครที่เป็น Hacker ก็คงจะคุ้นเคยกะ IP ดีครับ IP Address คือ หมายเลยประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่รู้จะอธิบายงัยดี คือว่าคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่ในระบบ Internet จะต้องมีหมายเลขประจำเครื่องไม่ซ้ำกัน จึงต้องมี IP Address เพื่อเป็นตัวชี้เฉพาะว่าเครื่องไหนเป็นเครื่องไหน ในระบบเมื่อมีการติดต่อสื่อสาร IP Address จะเป็นตัวกำกับข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปยังเป้าหมายได้ถูกต้อง พูดง่ายๆก็คือ IP Address เปรียบเหมือนบ้านเลขที่นั่นเอง
IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . เช่น 206.66.155.65
ถ้าหากเรารู้ IP ก็เหมือนกับว่าเรารู้ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น Hacker ก็อาจจะสามารถ ลบข้อมูลของเครื่องคุณได้โดยใช้ IP Address เป็นตัวระบุเป้าหมาย หรือไม่บางทีอาจเป็นพวกที่ชอบแกล้งคน ก็ทำให้ CD-Rom เราเปิดปิดเองได้ครับ อิอิอิ ผมจะพาไปดูการดู IP อย่างง่ายครับ โดยดูจาก กระทู้ หรือ เวบบอร์ดต่างๆครับ ก็ยกตัวอย่างจาก Webboard ของ Pantip นะ
ใน Internet Explorer ที่เพื่อนๆใช้ท่อง Web กัน ให้ไปคลิ๊กที่ View แล้วเลือก Source ดังรูป จะเป็นการดู Source Code ของกระทู้นี้ ซึ่งมี IP Address อยู่ด้วย
จากที่ได้กล่าวไปตอนต้นว่า IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . ทำให้เราสามารถรู้ได้ว่า ข้อมูลส่วนไหนคือ IP Address

ที่มา //www.geocities.com/ipcpu/part4/ipaddress.htm





โดย: จ.ส.ต. เสกสิท วงศรีรักษา 51241151128 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 114.128.134.179 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:20:17:25 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

คำตอบข้อ 6.1
-1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: จ.ส.อ. อาสา โสมประยูร 51241151211 เสารืบ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 114.128.134.179 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:20:22:50 น.  

 
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ขณะเราต่อเน็ต server จะส่งค่า IP Address ให้กับเครื่องของเรา โดยเราสามารถเช็คได้ดังนี้

1. คลิ้ก start เรียกไดอะล็อกบ็อก RUN ขึ้นมา หรือใช้คีย์ลัดโดยกด windows + R

2. ให้กรอกคำว่า cmd แล้วกดปุ่ม OK จะขึ้นหน้า Command Prompt ของ DOS

3. พิมพ์คำว่า ipconfig ต่อจาก directory ที่ขึ้นมา แล้วกด Enter

4. โปรแกรมจะแสดงหมายเลข IP Address ของเครื่องเราให้ดู

* ถ้าท่านไม่ได้ต่อเน็ตอยู่จะไม่ขึ้นโชว์ค่าของ IP Address มาให้ดู


//www.oknation.net/blog/vistavclub/2008/04/24/entry-1





โดย: จ.ส.ต.หญิงพรรสุภา ชิตเกษร 51241151125 เสาร์บ่าย หมู่ 05 รปศ. IP: 114.128.134.179 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:20:24:44 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบข้อ 6.1
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc






โดย: นางสาวกาญจนา อุปวันดี (หมู่01วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:20:28:51 น.  

 
ข้อ 1 ปกติแล้ว IP Address คือรหัสประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร



วิธีการดูทำได้ดังนี้
คลิกที่ Start แล้ว Run พิมพ์ cmd กด OK
พิมพ์คำว่า ipconfig /all
แล้วให้ดูที่คำว่า IP Address นั่นละ คือ IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

ที่มา //gotoknow.org/blog/mcom/221497


โดย: นางสาวประสิทธิ์พร เพ็งสอน (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:20:35:25 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS
1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

ที่มา:www.thaiipcop.blogka.com/.../%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html


โดย: นางสาวปิยนุช แสงจันทร์ (หมู่01 วันจันทร์-บ่าย) IP: 125.26.192.37 วันที่: 17 กันยายน 2552 เวลา:20:39:34 น.  

 
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: นายสันทัด คูหานา 51241151129 รูปแบบพิเศษ IP: 58.137.131.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:12:43:38 น.  

 
.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: นางสาวสุกัญญา แก้วคูณเมือง รหัส 51241151122 (เรียนวันเสาร์บ่ายโมง) IP: 58.137.131.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:12:44:12 น.  

 
วิธีการดู IP ขั้นพื้นฐาน
1111ใครที่เป็น Hacker ก็คงจะคุ้นเคยกะ IP ดีครับ IP Address คือ หมายเลยประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่รู้จะอธิบายงัยดี คือว่าคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่ในระบบ Internet จะต้องมีหมายเลขประจำเครื่องไม่ซ้ำกัน จึงต้องมี IP Address เพื่อเป็นตัวชี้เฉพาะว่าเครื่องไหนเป็นเครื่องไหน ในระบบเมื่อมีการติดต่อสื่อสาร IP Address จะเป็นตัวกำกับข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปยังเป้าหมายได้ถูกต้อง พูดง่ายๆก็คือ IP Address เปรียบเหมือนบ้านเลขที่นั่นเอง
IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . เช่น 206.66.155.65
ถ้าหากเรารู้ IP ก็เหมือนกับว่าเรารู้ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น Hacker ก็อาจจะสามารถ ลบข้อมูลของเครื่องคุณได้โดยใช้ IP Address เป็นตัวระบุเป้าหมาย หรือไม่บางทีอาจเป็นพวกที่ชอบแกล้งคน ก็ทำให้ CD-Rom เราเปิดปิดเองได้ครับ อิอิอิ ผมจะพาไปดูการดู IP อย่างง่ายครับ โดยดูจาก กระทู้ หรือ เวบบอร์ดต่างๆครับ ก็ยกตัวอย่างจาก Webboard ของ Pantip นะ
ใน Internet Explorer ที่เพื่อนๆใช้ท่อง Web กัน ให้ไปคลิ๊กที่ View แล้วเลือก Source ดังรูป จะเป็นการดู Source Code ของกระทู้นี้ ซึ่งมี IP Address อยู่ด้วย
จากที่ได้กล่าวไปตอนต้นว่า IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . ทำให้เราสามารถรู้ได้ว่า ข้อมูลส่วนไหนคือ IP Address

ที่มา //www.geocities.com/ipcpu/part4/ipaddress.htm





โดย: นายสุรพล อินทร์ธิราช หมู่ 05 IP: 58.137.131.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:12:44:56 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง






โดย: พ.อ.อ.ปิยะ หอมชื่น หมู่ 05 51241151144 IP: 58.137.131.62 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:12:45:28 น.  

 
วิธีการดูหมายเลข IP Address ของเครื่อง
วิธีที่ 1
1. บริเวณมุมล่างขวาของหน้าจอ จะมีไอคอนรูปจอสองจอซ้อนกันอยู่
2. คลิกขวาที่ไอคอน เลือก Status
เลือก Support 3.
4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ
172.29.1.94
วิธีที่2
1. ที่เมนู Start เลือก Control Panel
2. ในกรณีที่หน้า Control Panel แสดงผลแบบ Category คลิก Switch to Classic View
3. ใน Control Panel เลือก Network Connections
4. คลิกขวาที่ Local Area Connection เลือก Status
5. เลือก Support
6. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ
172.29.1.94
วิธีที่ 3
1. ที่เมนู start เลือก Run
2. พิมพ์คำว่า cmd แล้วกดปุ่ม Enter หรือคลิก OK
3. ใน Command Prompt หน้าจอสีดำ พิมพ์คำว่า ipconfig แล้วกด Enter
4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ
172.29.1.94


โดย: นางสาวนฤมล ภูหนองโอง รหัสนักศึกษา 52040264108 หมู่ 29 (พุธ-เช้า) IP: 125.26.177.195 วันที่: 19 กันยายน 2552 เวลา:16:23:47 น.  

 
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc

นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115


โดย: นาย พิษณุ มีที คบ.ทัศนศิลป์ หมู่ 11 1/52 จันทร์/บ่าย 51100103115 IP: 192.168.1.124, 124.157.149.201 วันที่: 20 กันยายน 2552 เวลา:13:37:32 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

ที่มา //www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: นางสาวหนึ่งฤทัย มังคละแสน คณะมนุษศษสตร์และสังคมศาสตร์ สาขานิติศาสตร์หมู่01 จ.บ่าย IP: 124.157.147.100 วันที่: 23 กันยายน 2552 เวลา:20:55:14 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้



1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไป

//thaiipcop.blogka.com/3706/%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html


โดย: น.สชไมพร ตะโคตร พุธ(เช้า)ม.29 52040422103 IP: 124.157.149.41 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:9:57:31 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS
1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

ที่มา:www.thaiipcop.blogka.com/.../%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html



นายตง ประดิชญากาญจน์ หมู่ 22 อังคารเช้า


โดย: นายตง ประดิชญากาญจน์ IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:14:18:51 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: ส.อ.ชาคร ทานินนท์ หมู่ 05 5124151208 IP: 125.26.164.16 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:14:21:09 น.  

 
วิธีการดูหมายเลข IP Address ของเครื่อง

วิธีที่ 1


1. บริเวณมุมล่างขวาของหน้าจอ จะมีไอคอนรูปจอสองจอซ้อนกันอยู่




2. คลิกขวาที่ไอคอน เลือก Status




3. เลือก Support




4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ 172.29.1.94






Posted by : Henry , Date : 2009-08-20 , Time : 10:35:52 , From IP : 172.29.1.207




ความคิดเห็นที่ : 1
วิธีที่ 2


1. ที่เมนู Start เลือก Control Panel




2. ในกรณีที่หน้า Control Panel แสดงผลแบบ Category คลิก Switch to Classic View




3. ใน Control Panel เลือก Network Connections




4. คลิกขวาที่ Local Area Connection เลือก Status




5. เลือก Support




6. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ 172.29.1.94





Posted by : Henry , Date : 2009-08-20 , Time : 10:44:10 , From IP : 172.29.1.207

ที่มา //medinfo.psu.ac.th


โดย: นายพงษ์ระวี รีชัยวิจิตรกุล ม.22 อังคารเช้า IP: 192.168.1.109, 124.157.139.216 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:15:14:29 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry

นายศราวุฒิ ทดกลาง หมู่22(อ.เช้า)


โดย: นายศราวุฒิ ทดกลาง IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:17:25:48 น.  

 
การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้



1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม





หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไปครับ

รูปแบบการเชื่อมต่อ

รูปแบบของการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อทำการคอนฟิคโปรแกรม IPCop ให้ทำงาตามที่ต้องการ (ตามรูปภาพการเชื่อมต่อ) นำสายแลนเสียบเข้าการ์ดแลนด้านหลังของเครื่อง ลูกข่าย (User) ปลายสายทีเหลื่อก็นำมาเสียบเข้ากับ Hub ในส่วนของเครื่อง IPCop ก็นำสายแลนมาเสียบเข้าก้บ Hub ปลายสายก็นำเข้าไปเสียบเข้ากับการ์ดแลนใบที่ 1 (eth0) ด้านหลังของเครื่อง IPCop และส่วนของการ์ดใบที่ 2 (eth1) ก็นำสายแลนมาเสียบเข้า Modem Router (อย่าลืมนะครับว่า เครื่อง IPCop จะต้องติดการ์ดแลน 2 ใบจะได้ไม่งงในเรื่องของ Eth







ก่อนหน้านี้ที่ได้ทำการติดตั้งโปรแกรม IPCop ในส่วนของ Green เราได้กรอกหมายเลข IP Address อะไรลงไปกลับไปดูนะครับ หากไม่ได้จดไว้







จากภาพตัวอย่างจะเป็นหมายเลข IP Address 194.168.1.1 NetWork mask : 255.255.255.0 IP Address เลขนี้เรากำหนดขึ้นมาเองครับ จะเป็นเลขอะไรก็ตามต้องการ IP Address นี้จะทำหน้าที่แจกหมายเลข IP Address ให้ลูกข่าย (User) ให้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ และ IP Address นี้อยู่ในลำดับของการ์ดตัวที่ Eth0





Eth0 ทำหน้าที่ไปเรียก IP Address, DNS และ Gateway การ์ดใบที่ 2 Eth1 ออกมานั่นเองครับ



และส่วนของ Eth1 หรือ Red คือเสียบเข้ากับ Router เพื่อออกอินเทอร์เน็ต เราได้กำหนด IP Address ไว้ตามทีได้จดหมายเลขของ IP เอาไว้ก็คือ 192.168.1.33 IP นี้ได้มาจาก Router และ NetWork mask : 255.255.255.0 ก็เหมือนเดิม ในกรณีที่เราจะทำการ Fix IP Address ให้กับเครื่องลูกข่าย (User) เลื่อน Tab เลือกเป็น Static หาก ต้องการกำหนดให้โปรแกรมแจก IP Address ออกมาอัตโนมัติ หรือ DHCP ก็เลือกเป็น DHCP





192.1638.1.xx หรือ RED ก็มาจาก Modem Router จะทำหน้าที่ผลิต IP Addressแจกจ่ายให้กับลูกข่ายต่าง ๆ รวมไปถึง PPPOE, PPTP ก็จะมาจาก RED





กลับไปดูในส่วนของ DNS and Gateway Settings อันนี้สำคัญหากไม่กรอกลงไปให้ถูกต้องจะไม่สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างแน่นอนครับ IP Address ต่าง ๆ เหล่านี้ก็มาจาก Router ตัวเดิมนั้นเองครับ เลื่อน Tab ลงไปในส่วนของ DNS and Gateway Settings กด ลงไป ดูรายละเอียดหรือกรอกหมายเลขที่ถูกต้องลงไป



ปกติ DNS ของ Modem Adls หรือ Modem Router จะเป็นเลข 192.168.1.1 Gateway ก็จะเป็น 192.168.1.1 ครับ หาเป็น ISP อื่น ๆ ก็จดหมายเลข DNS และ Gateway เหล่านี้มานะครับแล้วก็กรอกลงไปเท่านั้นเอง

//thaiipcop.blogka.com/3706/%B4%D9%CB%C1%D2%C2%E0%C5%A2+IP+Address+Modem+Router+ADSL.html








โดย: นายชัยวัฒน์ ศรีอุต หมู่22 อังคาร(เช้า) IP: 202.29.5.62 วันที่: 24 กันยายน 2552 เวลา:18:18:22 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc


โดย: น.ส.นงนุช นาเจริญ 52040258129 หมู่ที่ 22 เรียนอังคารเช้า IP: 1.1.1.4, 58.147.7.66 วันที่: 25 กันยายน 2552 เวลา:14:05:22 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง






โดย: น.ส.นฤมล หมู่หาญ 52040263122 หมู่ 22 อังคารเช้า IP: 1.1.1.31, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:11:19:09 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry



โดย: นายวัชฤทธิ์ มวลพิทักษ์ หมู่ 22 อ.เช้า IP: 125.26.175.79 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:13:46:02 น.  

 
การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น





โดย: นางสาวลำไพ พูลเกษ ม.15 (ศุกร์เช้า) IP: 1.1.1.145, 58.137.131.62 วันที่: 26 กันยายน 2552 เวลา:19:26:41 น.  

 
IPConfig คำสั่งสำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ภายในเครื่อง

คำสั่ง IPConfig เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับเรียกดูหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่ ซึ่งถ้าหากท่านไม่ทราบว่าหมายเลข IP Address ของเครื่องที่ท่านใช้งานอยู่นั้นเป็นหมายเลขอะไรหรือมีรายละเอียดอะไรที่เกี่ยวข้องกับหมายเลข IP Address บ้าง ก็สามารถใช้คำสั่งนี้เรียกดูผ่านหน้าต่าง Command Prompt ได้เลยครับ โดยเข้าไปที่

1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

//www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80






โดย: เบญจมาศ โคตรเพชร หมู่ 08 IP: 172.29.5.133, 202.29.5.62 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:11:39:44 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง


โดย: ปรีชา กลมเกลียว หมู่8 พฤหัสบดีเช้า รหัส 52040901222 IP: 124.157.139.201 วันที่: 27 กันยายน 2552 เวลา:17:38:13 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
= ชื่อและหมายเลขไอพี
อินเทอร์เน็ตมีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่เป็นล้านเครื่อง หลายคนอาจตั้งข้อสังเกตว่า เราส่งอีเมลไปยังปลายทางได้อย่างไร หรือเมื่อเราต้อง-การล็อกอิน (login) เข้าเครื่องอื่นที่อยู่บนเครือข่ายระบบเครือข่ายรู้ได้อย่างไรว่า เครื่องนั้นอยู่ที่ใดการอ้างอิงเข้าหากันเพื่อหาตำแหน่งที่อยู่จึงต้องมีการจัดระบบที่ดี เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายที่มีการออกแบบมาเพื่อให้สามารถติดต่อรับส่งข้อมูลถึงกันได้ทั้งหมด อีกทั้งทำให้ขยายเครือข่ายได้ง่ายและเป็นระบบ

รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง

คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่อยู่บนเครือข่ายจะมีรหัสหมายเลขประจำเครื่อง รหัสหมายเลขนี้เรียกว่า ไอพีแอดเดรส (IP address) ตัวเลขไอพีแอดเดรสของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องทั่วโลกจะต้องไม่ซ้ำกัน ตัวเลขนี้จะได้รับการกำหนดเป็นกฎเกณฑ์ให้แต่ละองค์การนำไปปฏิบัติ โดยผู้ที่จะสร้างเครือข่ายต้องการทำการขอหมายเลขประจำเครือ-ข่ายเพื่อกำหนดส่วนขยายต่อสำหรับแต่ละเครื่องเอาเอง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ขององค์กรหนึ่งทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์สำหรับอิเล็กทรอนิกส์เมลของเครือข่างองค์กร มีหมายเลขไอพีเป็นตัวเลขประจำเครื่อง ขนาด ๓๒ บิต ซึ่งแบ่งเป็น ๔ ฟิลด์ดังตัวอย่างเช่น

แต่ละฟิลด์จะมี ๘ ชนิด แต่เมื่อเรียกขานรหัสหมายเลขไอพีนี้ จะใช้ตัวเลขฐานสิบ แบ่งเป็น ๔ ชุด โดยมีจุด (.) คั่นระหว่างตัวเลขแต่ละชุด ดังนั้น จากตัวเลข ๓๒ บิต ดังกล่าวเรียกได้เป็น

ตัวเลขไบนารี ๓๒ หลัก เป็นตัวเลขที่จดจำได้ยาก แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ใช้เลขเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง เมื่อกำหนดตัวเลข ๔ ฟิลด์ แต่ละฟิลด์จึงมีขนาดได้ตั้งแต่ ๐ ถึง ๒๕๕ เมื่อนำมาเรียงกันแล้วจะทำให้จำได้ง่ายขึ้น

ใช้ชื่อแทนหมายเลข
เพื่อให้ระบบการเรียกชื่อง่ายขึ้น และการบริหารเครือข่ายทำได้ดี จึงมีการกำหนดชื่อแทนรหัสหมายเลขไอพี การตั้งชื่อสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่บนเครือข่าย มีระบบที่เป็นมาตรฐานที่กำหดนเป็นลำดับชั้น ชื่อแต่ละชื่อที่กำหนดขึ้นใช้แทนรหัสไอพี เช่น //www.nextec.or.th ซึ่งแทนหมายเลข 192.150.251.33 หรือเครื่อง nwg.nectec.or.th ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ของ NECTEC ใช้รหัส 192.150.251.31ดังนั้น เครื่องที่ต่ออยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจึงมีการตั้งชื่อเครื่องเพื่อให้รู้จักกันได้ง่ายขึ้น การตั้งชื่อมีการแบ่งเป็นลำดับชั้น ตัวที่อยู่ขวามือสุดคือชื่อย่อประเทศ เช่น th หมายถึง ประเทศไทยดังนั้น ทุกประเทศที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะมีรหัสชื่อย่อประเทศอยู่ ตัวอย่างรหัสชื่อย่อประเทศแสดงการแบ่งโซนของกลุ่มองค์กรที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และยังแบ่งตามประเภทขององค์กรเพื่อให้ทราบจุดประสงค์ขององค์กรที่ต่ออยู่บนเครือข่ายได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การแบ่งกลุ่มนี้จึงอยู่ในระดับที่ ๒ เช่น กลุ่มธุรกิจการค้า บริษัทเอกชนก็ใช้ co หรือ com กลุ่มสถาบันการศึกษาก็ใช้ edu หรือ ac เป็นต้น

ที่มา
//guru.sanook.com/search/%E0%B8%A3%E0


นายเจริญชัย ผ่ามดิน หมู่ 22 (อ.เช้า)



โดย: นายเจริญชัย ผ่ามดิน IP: 58.137.131.62 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:12:25:56 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?


โดย: น.ส.ศิราณี ผิววงษ์ 52040258102 เรียนอังคารเช้า หมู่ 22 IP: 1.1.1.244, 202.29.5.62 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:19:09:55 น.  

 
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ขณะเราต่อเน็ต server จะส่งค่า IP Address ให้กับเครื่องของเรา โดยเราสามารถเช็คได้ดังนี้

1. คลิ้ก start เรียกไดอะล็อกบ็อก RUN ขึ้นมา หรือใช้คีย์ลัดโดยกด windows + R

2. ให้กรอกคำว่า cmd แล้วกดปุ่ม OK จะขึ้นหน้า Command Prompt ของ DOS

3. พิมพ์คำว่า ipconfig ต่อจาก directory ที่ขึ้นมา แล้วกด Enter

4. โปรแกรมจะแสดงหมายเลข IP Address ของเครื่องเราให้ดู

* ถ้าท่านไม่ได้ต่อเน็ตอยู่จะไม่ขึ้นโชว์ค่าของ IP Address มาให้ดู


//www.oknation.net/blog/vistavclub/2008/04/24/entry-1


โดย: นางสาวสุจิตรา อินทสร้อย 52040258139 เรียนอังคารเช้า หมู่ 22 IP: 124.157.151.227 วันที่: 28 กันยายน 2552 เวลา:21:17:08 น.  

 
1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry


โดย: น.ส.คนึงนิจ ผิวบาง ม.22 เรียนเช้าวันอังคาร IP: 124.157.148.92 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:18:47:31 น.  

 

1.ศึกษาเรื่องของหมายเลขประจำเครื่อง (IP Address) และโดเมนเนม (Domain Name) ซึ่งเป็นที่อยู่ของเว็บไซต์นั้น มีความจำเป็นและเกี่ยวข้องกับการใช้งานโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ เนื่องจากโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ จะช่วยในการค้นหาและเรียกดูเว็บไซต์ตามที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เรากำหนดผ่านทางโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ นอกจากนี้จะมีสาระน่ารู้เกี่ยวกับโดเมนเนม โครงสร้างของระบบโดเมนเนม ลักษณะของโดเมนเนมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งขั้นตอนของการจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อนำไปใช้สำหรับการทำงานจริง

และอีกสิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นในการเรียกดูเว็บไซต์คือ รหัสสืบค้นแหล่งข้อมูล หรือ URL ซึ่งเป็นรูปแบบของที่อยู่เว็บไซต์ที่เราสามารถเจาะจงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บไซต์ที่ชัดเจนได้ ทำให้สามารถเดินทางไปยังเว็บไซต์ที่ต้องการได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ที่มา //kruyui.spaces.live.com/blog/cns!ACE44726FDCDEA49!689.entry



โดย: นศ.ณัฐชนันท์พร ศรีบุญเรือง (หมู่08 เช้า พฤ ) IP: 172.29.85.18, 58.137.131.62 วันที่: 11 มิถุนายน 2552 เวลา:15:06:58 น.







วิธีการดู IP ขั้นพื้นฐาน
1111ใครที่เป็น Hacker ก็คงจะคุ้นเคยกะ IP ดีครับ IP Address คือ หมายเลยประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่รู้จะอธิบายงัยดี คือว่าคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่อยู่ในระบบ Internet จะต้องมีหมายเลขประจำเครื่องไม่ซ้ำกัน จึงต้องมี IP Address เพื่อเป็นตัวชี้เฉพาะว่าเครื่องไหนเป็นเครื่องไหน ในระบบเมื่อมีการติดต่อสื่อสาร IP Address จะเป็นตัวกำกับข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและปลายทาง เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลไปยังเป้าหมายได้ถูกต้อง พูดง่ายๆก็คือ IP Address เปรียบเหมือนบ้านเลขที่นั่นเอง
IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . เช่น 206.66.155.65
ถ้าหากเรารู้ IP ก็เหมือนกับว่าเรารู้ที่อยู่ของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น Hacker ก็อาจจะสามารถ ลบข้อมูลของเครื่องคุณได้โดยใช้ IP Address เป็นตัวระบุเป้าหมาย หรือไม่บางทีอาจเป็นพวกที่ชอบแกล้งคน ก็ทำให้ CD-Rom เราเปิดปิดเองได้ครับ อิอิอิ ผมจะพาไปดูการดู IP อย่างง่ายครับ โดยดูจาก กระทู้ หรือ เวบบอร์ดต่างๆครับ ก็ยกตัวอย่างจาก Webboard ของ Pantip นะ
ใน Internet Explorer ที่เพื่อนๆใช้ท่อง Web กัน ให้ไปคลิ๊กที่ View แล้วเลือก Source ดังรูป จะเป็นการดู Source Code ของกระทู้นี้ ซึ่งมี IP Address อยู่ด้วย
จากที่ได้กล่าวไปตอนต้นว่า IP Address จะประกอบด้วยข้อมูลจำนวน 32 บิต โดยแยกออกเป็น 4 ส่วนๆละ 8 บิต โดยแต่ละส่วนจะคั่นกันด้วยเครื่องหมายจุด . ทำให้เราสามารถรู้ได้ว่า ข้อมูลส่วนไหนคือ IP Address

ที่มา //www.geocities.com/ipcpu/part4/ipaddress.htm




โดย: น.ส.คนึงนิจ ผิวบาง ม.22 เรียนเช้าวันอังคาร IP: 124.157.148.92 วันที่: 29 กันยายน 2552 เวลา:18:48:44 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา ขณะเราต่อเน็ต server จะส่งค่า IP Address ให้กับเครื่องของเรา โดยเราสามารถเช็คได้ดังนี้

1. คลิ้ก start เรียกไดอะล็อกบ็อก RUN ขึ้นมา หรือใช้คีย์ลัดโดยกด windows + R

2. ให้กรอกคำว่า cmd แล้วกดปุ่ม OK จะขึ้นหน้า Command Prompt ของ DOS

3. พิมพ์คำว่า ipconfig ต่อจาก directory ที่ขึ้นมา แล้วกด Enter

4. โปรแกรมจะแสดงหมายเลข IP Address ของเครื่องเราให้ดู

* ถ้าท่านไม่ได้ต่อเน็ตอยู่จะไม่ขึ้นโชว์ค่าของ IP Address มาให้ดู
ที่มา:ที่มา //www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: น.ส.สุกญญา พรมสวัสดิ์ (หมู่ที่ 15 ศุกร์ เช้า ) IP: 61.19.119.253 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:16:56:30 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบข้อ 6.1
IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด ตัวอย่าง IP Address 192.168.0.1
การสื่อสารและรับส่งข้อมูลในระบบ Internet สิ่งสำคัญคือที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ดังนั้นเพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ จึ่ง ได้มีการกำหนดหมายเลขประจำเครื่องที่เราเรียกว่า IP Address และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและซ้ำกัน จึงได้มีการก่อตั้งองค์กรเพื่อ แจกจ่าย IP Address โดยเฉพาะ ชื่อองค์กรว่า InterNIC (International Network Information Center) อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา การแจกจ่ายนั้นทาง InterNIC จะแจกจ่ายเฉพาะ Network Address ให้แต่ละเครือข่าย ส่วนลูกข่ายของเครือง ทางเครือข่ายนั้นก็จะเป็น ผู้แจกจ่ายอีกทอดหนึ่ง ดังนั้นพอสรุปได้ว่า IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address หรือ Host Address

ที่มา
//learners.in.th/file/chuty_c/answer.doc


โดย: นาย ณัฐพงศ์ มันทะลา หมู่22 IP: 124.157.139.208 วันที่: 30 กันยายน 2552 เวลา:18:59:31 น.  

 
1. บริเวณมุมล่างขวาของหน้าจอ จะมีไอคอนรูปจอสองจอซ้อนกันอยู่




2. คลิกขวาที่ไอคอน เลือก Status




3. เลือก Support




4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ 172.29.1.94






Posted by : Henry , Date : 2009-08-20 , Time : 10:35:52 , From IP : 172.29.1.207




ความคิดเห็นที่ : 1
วิธีที่ 2


1. ที่เมนู Start เลือก Control Panel




2. ในกรณีที่หน้า Control Panel แสดงผลแบบ Category คลิก Switch to Classic View




3. ใน Control Panel เลือก Network Connections




4. คลิกขวาที่ Local Area Connection เลือก Status




5. เลือก Support




6. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ 172.29.1.94





Posted by : Henry , Date : 2009-08-20 , Time : 10:44:10 , From IP : 172.29.1.207




ความคิดเห็นที่ : 2
วิธีที่ 3


1. ที่เมนู start เลือก Run




2. พิมพ์คำว่า cmd แล้วกดปุ่ม Enter หรือคลิก OK




3. ใน Command Prompt หน้าจอสีดำ พิมพ์คำว่า ipconfig แล้วกด Enter




4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง จากรูปคือ 172.29.1.94


//medinfo.psu.ac.th/pr/WebBoard/readboard.php?id=13925


โดย: น.ส.จิราภรณ์ ศุกรักษ์(หมู่15 ศุกร์ เช้า) IP: 117.47.233.39 วันที่: 1 ตุลาคม 2552 เวลา:15:48:25 น.  

 
แบบทดสอบที่6. ชื่อและหมายเลขประจำเครื่องในเครือข่าย

ข้อที่ 1 ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ
วิธีที่ 1
1. บริเวณมุมล่างขวาของหน้าจอ จะมีไอคอนรูปจอสองจอซ้อนกันอยู
2. คลิกขวาที่ไอคอน เลือก Status

3. เลือก Support
4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง
วิธีที่2
1. ที่เมนู Start เลือก Control Panel
2. ในกรณีที่หน้า Control Panel แสดงผลแบบ Category คลิก Switch to Classic View
3. ใน Control Panel เลือก Network Connections
4. คลิกขวาที่ Local Area Connection เลือก Status
5. เลือก Support
6. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง


ที่มา//medinfo.psu.ac.th/doit/nmu/nsinfo/upload/getip/getIP.pdf


โดย: นางสาวจิลวรรณ ปัดถาวะโร รหัสนักศึกษา 52040281130 วทบ.ชีววิทยา (จุลชีววิทยา) หมู่ 08 ( พฤ. เช้า) IP: 125.26.166.121 วันที่: 3 ตุลาคม 2552 เวลา:17:08:38 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?


โดย: นางสาวกฤตยา อินทร์กอ หมู่ 22 IP: 118.174.20.84 วันที่: 4 ตุลาคม 2552 เวลา:12:16:32 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น
กำหนดให้ ip address (เป็นหมายเลข 3 หลัก 4 กลุ่ม) มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ระบบหมายเลขประจำเครื่องมีข้อบกพร่องคือ จำยากและไม่ได้สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปได้ทราบ ดังนั้น จึงมีการใช้ระบบชื่อของเครื่อง (Domain Name System : DNS) ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนหมายเลข IP Address มาเป็นชื่อที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจกัน
เช่น
Moe.go.th
udru.ac.th
microsoft.com
ที่มา: https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=numpuang&date=01-04-2009&group=11&gblog=3

โดย นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ เรียนวันพฤหัส ตอนเช้า เวลา 08.00-12.00น. หมู่08


โดย: นางสาว สุดารัตน์ นรินทร์ IP: 125.26.164.218 วันที่: 5 ตุลาคม 2552 เวลา:10:28:10 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา


เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกตัวที่ต่ออยู่บน Network จะต้องมีหมายเลขประจำเครื่อง ซึ่งเรียกว่า IP Address การตรวจสอบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา มีหมายเลข IP Address อะไร มีวิธีการตรวจสอบง่ายๆ 2-3 วิธี ให้ทำดังนี้


วิธีที่ 1

ให้มองมุมขวาล่าง ของหน้าจอคอมพิวเตอร์ จะเห็นรูปเครื่องคอมพิวเตอร์ซ้อนกัน 2 เครื่อง ให้ Double Click ที่รูป จะได้ Dialog Box ขึ้นมา ให้คลิกที่ Tap : Support ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์มีการเชื่อมต่ออยู่ เราจะเห็น IP Address, Subnet Mask และ Default Gateway


วิธีที่ 2

คลิกที่ปุ่ม Start แล้วคลิก Run จะได้ Dialog Box ให้พิมพ์ cmd แล้วกดปุ่ม OK จะได้ Dialog Box สีดำ ให้พิมพ์ว่า ipconfig ถ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่ออยู่กับ Network จะได้ IP Address, Subnet Mask และ Default Gateway


วิธีที่ 3

ให้ดูที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ มองหา My Network Placesคลิกขวา เลือกเลือก Properties ให้คลิกขวาเลือก Properties ให้เลือก Internet Protocol (TCP/IP) แล้วคลิก Properties ถ้าเครื่องที่มีการ set IP Address ไว้



ที่มา : //www.ipstar.tot.co.th/setip.htm


โดย: น.ส. นาริณี อินทร์ดี IP: 125.26.159.26 วันที่: 7 ตุลาคม 2552 เวลา:19:09:50 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ
การดูหมายเลข IP Address ของ Modem Router ก่อนหน้านี้ Modem Router จะทำหน้าที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตให้อัตโนมัติอยู่แล้วครับเมื่อเปิดสวิตท์ Modem Router เรียบร้อยแล้วก็จะได้ IP Address พร้อมกับ Gateway และ DNS วิธีการดูหมายเลข IP Address Gateway และ DNS ทำดังนี้



1. คลิ้ก Start

2. คลิ้ก Run

3. พิมพ์ คำสั่ง cmd กดปุ่ม

4. พิมพ์คำสั่ง ipconfig กดปุ่ม

หลังจากที่ได้ IP Address Gateway และ DNS ก็ทำการจดเอาไว้นะครับ จะได้นำตัวเลขเหล่านี้ไปทำการปรับแต่งโปรแกรม IPCop ของเราเต่อไป


โดย: นายธีรยุทธ วันทอง คบ.ภาษาอังกฤษ รหัส 52100102145 หมู่ 08 พฤหัสเช้า IP: 202.29.5.242 วันที่: 27 ธันวาคม 2552 เวลา:18:15:58 น.  

 
แบบฝึกหัด
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

วิธีที่ 1
1. บริเวณมุมล่างขวาของหน้าจอ จะมีไอคอนรูปจอสองจอซ้อนกันอยู
2. คลิกขวาที่ไอคอน เลือก Status

3. เลือก Support
4. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง
วิธีที่2
1. ที่เมนู Start เลือก Control Panel
2. ในกรณีที่หน้า Control Panel แสดงผลแบบ Category คลิก Switch to Classic View
3. ใน Control Panel เลือก Network Connections
4. คลิกขวาที่ Local Area Connection เลือก Status
5. เลือก Support
6. จะมีบรรทัดที่เขียนว่า IP Address ข้างหลังคือ หมายเลข IP Address ของเครื่อง



โดย: ***นายสุรศักดิ์ พฤคณา 52100102101 คบ.ภาษาอังกฤษ 1/2 ปี 1 หมู่ 1 พฤหัสบดี เช้า IP: 172.29.5.133, 61.19.118.250 วันที่: 11 มกราคม 2553 เวลา:18:25:52 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา

หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้น
กำหนดให้ ip address (เป็นหมายเลข 3 หลัก 4 กลุ่ม) มีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ระบบหมายเลขประจำเครื่องมีข้อบกพร่องคือ จำยากและไม่ได้สื่อความหมายให้ผู้ใช้งานทั่วไปได้ทราบ ดังนั้น จึงมีการใช้ระบบชื่อของเครื่อง (Domain Name System : DNS) ซึ่งจะเป็นการเปลี่ยนหมายเลข IP Address มาเป็นชื่อที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจกัน
เช่น
Moe.go.th
udru.ac.th
microsoft.com


โดย: นาย นุกูลกิจ ลีทุม 52100102146 คบ.อังกฤษ หมู่ที่ 8 พฤหัส(เช้า) IP: 202.29.5.240 วันที่: 20 มกราคม 2553 เวลา:16:28:41 น.  

 
6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
ตอบ 1.คลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig
2.ถ้าหากต้องการดูหมายเลข IP Address ซึ่งบอกรายละเอียดทั้งหมดก็สามารถดูได้โดยคลิกปุ่ม Start Run พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig วรรค /all
จะปรากฎรายละเอียดขึ้น

ที่มา: //www.varietypc.net/modules.php?name=News&file=article&sid=80


โดย: นางสาว ชนิกานต์ นรสาร 50040423104 การเงิน ปี3/6 หมู่ 31 เรียนวันพฤหัสบดี (บ่าย) IP: 111.84.125.117 วันที่: 6 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา:14:40:15 น.  

 
เพ็ญนภา เจริญทรง 49240428132
ม.5 ส.13.00 – 16.00 น.

6.1. ให้นักศึกษาบอกวิธีการดูหมายเลข IP Address ประจำเครื่องของนักศึกษา
การแบ่งหมายเลขไอพีออกเป็น ๔ ฟิลด์นั้นตัวเลขที่ประกอบอยู่เป็นตัวเลขของเครือข่ายด้วยเช่น เครือข่ายของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ใช้รหัส 158.108 นำหน้า เครือข่ายของบริษัท

ไอบีเอ็มที่เป็นเครือข่ายใหญ่ระดับโลกใช้รหัส ๙.นำหน้า เครือข่ายของบริษัทเอทีแอนด์ทีใช้รหัสหมายเลขไอพีเป็น 12 นำหน้า ส่วนเครือข่ายของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีหลายเลข 192.150.249.นำหน้า เป็นต้น

เนื่องจากเครือข่ายมีขนาดแตกต่างกันมากดังนั้น จึงมีการกำหนดวิธีการแบ่งประเภทของเครือข่ายออกเป็นหลายคลาส คือ คลาส A คลาส B และคลาส C เป็นต้น

คลาส A กำหนดตัวเลขฟิลด์แรกเพียงฟิลด์เดียว ที่เหลืออีก ๓ ฟิลด์จึงเป็นรหัสประจำเครื่องหรือรหัสเครือข่ายย่อยที่อยู่ในเครือข่าย คลาส Bกำหนดตัวเลข ๒ ฟิลด์ จึงเหลือให้กำหนดรหัสเครื่อง ๒ ฟิลด์ คลาส C กำหนดตัวเลขไว้ ๓ฟิลด์ จึงมีที่ให้กำหนดรหัสเครื่องเพียงฟิลด์เดียว

เมื่อพิจารณาตัวเลขรหัสไอพีใดๆหากตัวเลขฟิลด์แรกขึ้นต้นระหว่าง ๑-๑๒๖ ก็จะเป็นคลาส Aถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๒๘-๑๙๑ ก็จะเป็นคลาส B และถ้าขึ้นต้นด้วย ๑๙๒-๒๒๓ ก็จะเป็นคลาส C

ทางองค์กรบริหารเครือข่ายจะเป็นผู้กำหนดหมายเลขเครือข่ายนี้ให้ เป็นที่น่าสังเกตว่า การกำหนดหมายเลขไอพีใช้วิธีกำหนดให้เรียงกันไปใครมาขอลงทะเบียนก่อน ก็จะให้เลขน้อยเรียง ตามลำดับเวลาที่ขอ และเมื่อพิจารณาการเติบโตของเครือข่ายที่ค่อนข้างจะรวดเร็วเช่นนี้ หมายเลขไอพีคงจะเต็มพิกัดครบทุกคลาสในไม่ช้านี้ แต่ทางองค์กรบริหารเครือข่ายก็เตรียมแผนการขยายหมายเลขต่อไปแล้ว โดยเพิ่มขยายหมายเลขไอพีให้มีจำนวนฟิลด์มากขึ้น
ที่มา//guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=เครือข่ายมีหมายเลขประจำ&select=1&id=2221#รหัสหมายเลขไอพีประจำเครื่อง



โดย: เพ็ญนภา เจริญทรง 49240428132 IP: 192.168.0.103, 180.183.68.130 วันที่: 15 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา:9:21:32 น.  

 
ปัญญาออน่


โดย: นุ่น IP: 110.168.122.56 วันที่: 20 พฤศจิกายน 2555 เวลา:10:51:45 น.  

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 
 
 

neaup
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 35 คน [?]




มาเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้กันนะคะ
[Add neaup's blog to your web]

 
pantip.com pantipmarket.com pantown.com
pantip.com pantipmarket.com pantown.com