Ortho knowledge for all @ Do no harm patient and myself @ สุขภาพดี ไม่มีขาย ถ้าอยากได้ ต้องสร้างเอง

คำชี้แจง จาก ราชวิทยาลัยออร์โธฯ เกี่ยวกับยารักษาข้อเข่าเสื่อม ..(ที่กรมบัญชีกลางสั่งห้ามเบิก)

L10289328 ในเมื่อรู้แล้วว่ากลูโคซามีนซัลเฟตรักษาโรคข้อเสื่อมได้แล้วเมื่อไหร่ยาเหล่านี้จะกลับมาเบิกได้คะ [คลินิกหมออาสา] ควีนโพธิ์ดำ (22- 28 ก.พ. 54 16:29)

//topicstock.pantip.com/lumpini/topicstock/2011/02/L10289328/L10289328.html

 L10275577 อย. ออกมาบอกว่ากลูโคซามีนซัลเฟตใช้แล้วได้ผลให้กองบัญชีกลางกลับไปพิจารณาใหม่ตกลงยังไงกันแน่ [สุขภาพกาย] bestpits (23 - 24 ก.พ. 5416:28)

//topicstock.pantip.com/lumpini/topicstock/2011/02/L10275577/L10275577.html


ขรก.จ๊ากแน่คลังเลิกจ่าย ยานอก9กลุ่ม(ไทยโพสต์) .... นำกระทู้มาลงไว้เป็นข้อมูล

//www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=25-01-2011&group=7&gblog=123

งานเข้าข้าราชการไทย " คลังสั่งห้ามจ่าย9ยานอก คนเป็นมะเร็ง-ไขมัน-ความดันกระอัก " .. นำกระทู้มาลงไว้

//www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=25-01-2011&group=7&gblog=124

มีข้อมูลที่ทางกรมบัญชีกลาง และ คณะทำงานฯ ได้นำมาลงไว้ .. เป็นข้อมูลอีกด้าน เผื่อใครสนใจแวะไปอ่านก่อนก็จะได้อรรถรสเพิ่มขึ้นนะครับ ..

แผนงานพัฒนามาตรการควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาและพัฒนารูปแบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยนอก ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ

//www.hisro.or.th/csmbs/

เรื่องเชื่อเรื่องจริง “กลูโคซามีน”

//www.hisro.or.th/csmbs/download/Publication_Glucosamine_HISRO.pdf

แผ่นพับ"ยกเลิกการใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการในการเบิกจ่ายยาบรรเทาอาการปวดข้อที่อยู่นอกบัญชียาหลัก4 รายการ รวมทั้งยากลูโคซามีน"

//www.hisro.or.th/csmbs/download/Final%20Brochure.pdf

เอกสารสรุปประเด็นข้อเท็จจริงและข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับกลูโคซามีนคอนดรอยตินซัลเฟต ไดอะเซอเรน และไฮยาลูโรแนนชนิดฉีดเข้าข้อ

//www.hisro.or.th/csmbs/download/Glucosamine_Book.pdf

//www.hisro.or.th/csmbs/download/Final_Glucosamine.pdf

หนังสือเวียนจากกระทรวงการคลังรายการยาที่ห้ามเบิกจ่ายฯ

//www.hisro.or.th/csmbs/

 .....................

ต่อไปนี้จะเป็นการชี้แจง จากราชวิทยาลัยแพทย์ ออร์โธปิดิกส์ แห่งประ้เทศไทย

//www.rcost.or.th/

ซึ่งผมนำมาจากข่าวสาร ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ ฉบับ เดือน กพ. และ ได้ขออนุญาต แล้ว

ท่านใดที่สนใจเนื้อหาทั้งหมดของข่าวสาร ฉบับนี้ ก็สามารถโหลดฉบับเต็ม เป็น pdffile ได้

//www.mediafire.com/?l0sanuognd78vpl

แนวปฏิบัติบริการ ดูแลรักษา ข้อเข่าเสื่อม พศ. ๒๕๕๓ ของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์

//www.mediafire.com/?q6jqyvyci46b51s


























































ถ้า กรมบัญชีกลาง บอกเหตุผลของการห้ามเบิกจ่ายยานี้ เพราะ งบไม่มี เงินหมด ก็ยังพอยอมรับได้ ... แต่นี่อ้างว่า ยา ไม่ได้ผล และ อันตราย

พอได้มาอ่านข้อมูลที่ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธฯ ชี้แจง แบบนี้ .. รู้สึกเซ็ง แทน ข้าราชการจริง ๆ



ปล. แจ้งไว้ล่วงหน้า ... ผมลาออกจากราชการ ใช้สิทธิบัตรทอง จึงไม่ได้มีส่วนเสียที่ห้ามเบิกจ่ายยาของข้าราชการในรพ.รัฐ ... เผื่อบางคนจะคิดว่า ผมนำเรื่องนี้มาแฉ เพราะ เสียผลประโยชน์








Create Date : 08 เมษายน 2554
Last Update : 22 พฤษภาคม 2558 15:01:11 น. 8 comments
Counter : 7792 Pageviews.  

 


โดย: ริวคิ-mawin-maji-minic วันที่: 11 เมษายน 2554 เวลา:23:30:17 น.  

 
พี่สาวทำงานราชการค่ะ
และแม่ใช้สิทธิ์เบิกค่ารักษาพยาบาล
ระยะหลัง ๆ ยาหลาย ๆ อย่างเบิกไม่ได้
พี่สาวก็บ่น ๆ เหมือนกัน
เพราะรับราชการ เงินเดือนน้อยนิดเดียว
ที่หวังไว้ก็แค่เป็นที่พึ่งให้พ่อแม่
ในยามเจ็บป่วยได้บ้าง
แต่กลายเป็นว่า
ไอ้ที่ควรจะเบิกได้ ก็เบิกไม่ได้
แล้วต้องเอาเงินเดือนน้อยนิดที่มี
เอามาจ่ายค่ายาให้พ่อแม่ซะงั้น


พวกเราก็ได้แต่ก้มหน้าก้มตารับไป


โดย: โสดในซอย วันที่: 15 เมษายน 2554 เวลา:16:16:12 น.  

 


อาทิตย์หน้าขรก.เบิกจ่ายยา กลูโคซามีนซัลเฟตได้แล้ว

//breakingnews.nationchannel.com/read.php?newsid=508809



นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี รองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ กล่าวว่า ได้รับแจ้งจากกระทรวงการคลังว่า

สัปดาห์หน้า กรมบัญชีกลาง จะแก้ไขระเบียบให้ข้าราชการให้สามารถเบิกจ่ายยา กลูโคซามีนซัลเฟต ( Glucosamine sulfate) ที่จะใช้รักษาโรคไขข้อเสื่อม ให้กับข้าราชการสูงอายุได้แล้วตั้งแต่สัปดาห์หน้า เป็นต้นไป

หลังจากที่เคยมีปัญหาถูกตัดออกจากสิทธิการรักษาและมีการข้าราชการออกมาร้องเรียน


ขอแสดงความยินดีกับ ข้าราชการ ทุกท่านที่จำเป็นต้องใช้ยานี้ด้วยนะครับ ..


แต่ ผมก็ยังรอฟังเหตุผลเพิ่มเติม จากกรมบัญชีกลาง ว่า ทำไมถึงยอมกลับลำ ??? เพราะ ยังมียาอีกหลายกลุ่มที่กรมบัญชีกลางจะออกมาตรการห้ามเบิกจ่าย ข้าราชการก็คงต้องติดตามกันต่อไป ..


โดย: หมอหมู วันที่: 10 พฤษภาคม 2554 เวลา:0:26:15 น.  

 
กรมบัญชีกลาง กลับลำ อีกรอบ ???



//www.thairath.co.th/content/eco/178822


ไทยรัฐออนไลน์ โดย ทีมข่าวเศรษฐกิจ
14 มิถุนายน 2554, 05:15 น.


คลังคุมเข้มเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ขรก.

กระทรวงการคลัง คุมเข้มเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลข้าราชการ พบ 8 เดือนยอดพุ่งแค่ 4 หมื่นล้าน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนมาก...

นางสาวสุภา ปิยะจิตติ รองปลัดกระทรวงการคลัง ในฐานะหัวหน้ากลุ่มภารกิจรายจ่าย เปิดเผยถึงยอดการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของข้าราชการและบุคคลในครอบครัวใน 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 54 หรือ ณ สิ้นเดือน พ.ค.54 ว่า มียอดการเบิกจ่ายรวม 40,000 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนมาก แต่คาดว่ายอดการเบิกจ่ายในปีงบ 54 จะอยู่ในกรอบเป้าหมายที่ 62,000 ล้านบาท

สาเหตุที่ทำให้ยอดการเบิกจ่ายลดลง มาจากการเพิ่มประสิทธิภาพในการเบิกจ่าย ทั้งการควบคุมการเบิกจ่ายยาที่ไม่จำเป็น เช่น คุมการเบิกจ่ายยานอกบัญชียาหลัก และการตรวจสอบการเบิกจ่ายยาที่ไม่เป็นไปตามระเบียบย้อนหลังของโรงพยาบาล รวมถึงการออกระเบียบใหม่เพื่อป้องกันการทุจริต

“ที่ผ่านมา ยอดการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลพุ่งขึ้นเฉลี่ยปีละ 20-25% ทำให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลมีมากถึง 50,000-60,000 ล้านบาท ในปัจจุบัน หากไม่ควบคุมการเบิกจ่ายส่วนนี้ ประเมินกันว่า ยอดการเบิกจ่ายจะทะลุถึง 100,000 ล้านบาทในแต่ละปี ซึ่งจะทำให้การจัดทำงบประมาณสมดุลไม่เป็นไปตามเป้าหมาย”




นางสาวสุภา กล่าวต่อถึงแนวทางของกรมบัญชีกลางที่จะใช้ระบบประกันมาดูแลค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เพื่อคุมให้งบประมาณรายจ่ายส่วนนี้อยู่ในเป้าหมายว่า กรมบัญชีกลางอยู่ระหว่างการศึกษาข้อดีข้อเสีย คาดได้ข้อสรุปเร็วๆนี้

ส่วนข้อเรียกร้องที่จะให้ยกเลิกระเบียบห้ามการเบิกจ่ายยารักษาข้อเข่าเสื่อมนั้น ขณะนี้ยังไม่ได้ข้อสรุป แต่ได้มอบหมายให้แพทย์ที่วิจัยการใช้ยาดังกล่าว และแพทย์ผู้เชี่ยวชาญการรักษาโรคนี้ ไปหาข้อสรุปให้ตรงกันว่า ควรจะใช้ยาดังกล่าวรักษาคนไข้ต่อไปหรือไม่ ซึ่งหากได้ข้อสรุปว่า ยานี้สามารถรักษาให้หายขาดได้ ก็พร้อมที่จะยกเลิก สำหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในแต่ละปีจะอยู่ที่ราว 800-900 ล้านบาท.



ปล. เมื่อต้น พค. ให้ข่าวว่า จะแก้ไขระเบียบให้เบิกได้ในสัปดาห์หน้า .. แต่พอผ่านไป ข่าวเงียบ ก็มาให้ข่าวใหม่ ???


โดย: หมอหมู วันที่: 15 มิถุนายน 2554 เวลา:17:04:43 น.  

 


หนังสือเวียน ของกระทรวงการคลัง เรื่อง การเบิกค่ายากลูโคซามีนซัลเฟต ... สำหรับ ผู้ที่ใช้สิทธิข้าราชการ ต้องโหลดไปศึกษา จะมีข้อกำหนดหลายอย่างที่จะเิบิกยากลุ่มนี้ เช่น อายุมากกว่า 56 ปี ต้องจ่ายเงินเองก่อนแล้วนำไปเบิกที่หน่วยงาน (ใช้ระบบเบิกตรงไม่ได้) หมอสั่งยาได้ไม่เกิน 6 สัปดาห์/ครั้ง ต่อเนื่องกันไม่เกิน 3 เดือน เป็นต้น เวลาเบิกเงินคืนจะได้ไม่เกิดปัญหา นะครับ

//www.cgd.go.th/wps/wcm/connect/edff068047663b83884adfd1be5c0516/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%8B%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99.pdf?MOD=AJPERES

//www.dol.go.th/landdoc/images/medias/landdoc/file/kcm_9.pdf


คำชี้แจง จาก ราชวิทยาลัยออร์โธฯ เกี่ยวกับยารักษาข้อเข่าเสื่อม ..(ที่กรมบัญชีกลางสั่งห้ามเบิก)
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=08-04-2011&group=7&gblog=132

คำชี้แจง จาก ราชวิทยาลัยออร์โธฯ เกี่ยวกับยารักษาข้อเข่าเสื่อม (ที่กรมบัญชีกลางสั่งห้ามเบิก)..( ต่อ )
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=21-04-2011&group=7&gblog=134

คำชี้แจง จาก ราชวิทยาลัยออร์โธฯ เกี่ยวกับยารักษาข้อเข่าเสื่อม (ที่กรมบัญชีกลางสั่งห้ามเบิก)..(จบ?)
https://www.bloggang.com/mainblog.php?id=cmu2807&month=22-07-2011&group=7&gblog=146

แนวปฏิบัติ บริการ ดูแลรักษา ข้อเข่าเสื่อม พศ. ๒๕๕๓ ของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์
//www.mediafire.com/?q6jqyvyci46b51s

คลัง ส่งหนังสือด่วนถึง รพ.อนุมัติเบิกจ่ายยาข้อเสื่อมได้แบบมีเงื่อนไข
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=01-07-2011&group=7&gblog=142

ข้อเข่าเสื่อม
https://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cmu2807&date=29-05-2008&group=5&gblog=15



โดย: หมอหมู วันที่: 6 กันยายน 2554 เวลา:1:43:18 น.  

 
ข้อมูลเพิ่มเติม จากเฟส อ.

Thiravat Hemachudha

กลูโคซามีน เจ๊งแล้ว เกิดต้อหิน ข้อเข่าปวดยังไม่แน่ชัดว่ามีประโยชน์ แถมยังเสี่ยงตาบอด
Glucosamine linked to Increased Intraocular Pressure
Laurie Barclay, MD
May 24, 2013
Glucosamine supplementation was linked to significant, reversible increases in intraocular pressure (IOP) in a small, retrospective study published online May 23 in JAMA Ophthalmology. However, the investigators, led by Ryan K. Murphy, DO, from the University of New England College of Osteopathic Medicine, Biddeford, Maine, and colleagues, could not exclude the potential for permanent damage.
"Frequently, patients are being told that while studies give conflicting data as to whether glucosamine and chondroitin sulfate are effective in reducing arthritic pain, there does not appear to be any risk in trying these supplements," Andrew L. Sherman, MD, professor and vice chair of clinical rehabilitation medicine at the University of Miami Leonard M. Miller School of Medicine in Florida, told Medscape Medical News when asked for comment on the study. "This study, if [the findings are confirmed], attacks that premise."
US prevalence of osteoarthritis is 27 million, and for open-angle glaucoma, it exceeds 2 million, according to the Centers for Disease Control and Prevention.
"Although it is [unclear] what the implications of having increased IOP would be for individual patients, the risk is...that ocular damage could possibly occur from what were previously thought to be 'benign' supplements," said Dr. Sherman, who was not involved in the study.
A keen observation by coauthor Edward Hall Jaccoma, MD, clinical associate professor of ophthalmology at the University of New England College of Osteopathic Medicine, provided the impetus for this study.
"A family member I was following as a glaucoma suspect suddenly had a sharp rise in...IOP, and the only change in his life was adding glucosamine supplements for arthritis," Dr. Jaccoma told Medscape Medical News. "I made a tentative connection based on the molecular biology and potential kinship to steroid glaucoma. When he stopped the supplement, his IOP returned to baseline levels. Subsequent observations of...patients on these supplements appear to show an interaction similar to what [happened] in this index patient."
Study Design and Findings
The investigators retrospectively studied 6 men and 11 women, with a mean age of 76 years, who had a history of glucosamine supplementation and ocular hypertension (IOP > 21 mm Hg) or diagnosed open-angle glaucoma, a willingness to discontinue glucosamine, 3 or more IOP measurements within 2 years, and no associated changes in glaucoma medications or eye surgery. Group A (n = 11) had 1 to 3 baseline IOP measurements before starting glucosamine, and group B (n = 6) had no baseline IOP measurements.
IOP increased in group A after starting glucosamine supplementation (P = .001). After glucosamine discontinuation, IOP decreased in group A (P = .002), group B (P = .008), and groups A and B combined (19.5 ± 0.4 to 16.7 ± 3.0 mm Hg in the right eye and 20.3 ± 2.9 to 17.3 ± 2.4 mm Hg in the left eye; P < .001). For any categories or comparisons, the left and right eyes in each patient did not differ significantly.
"Many questions are raised by glucosamine supplementation–associated IOP changes," the study authors write. "This study shows a reversible effect of those changes, which is reassuring. However, the possibility that permanent damage can result from prolonged use of glucosamine supplementation is not eliminated."
Study Limitations and Implications
"Glucosamine supplements are a billion dollar business, and as the baby boom generation looks for ways to stave off their arthritis, more and more of them [turn] to what has been billed as a 'safe supplement,' " said Dr. Jaccoma, who is also director of Southern Maine Eye Associates in Sanford and of New England Dry Eye Center in Kennebunk, Maine. "My concern is that some...of them may end up with glaucomatous damage that could have been prevented or...medicating (or having laser and other surgical interventions) for a disease...that might have been avoided in the subset of 'glucosamine responders.' "
Dr. Jaccoma recommends that at the very least, people at risk for glaucoma have their IOP more closely monitored during glucosamine supplementation.
"I do have a small subset of patients who find glucosamine so helpful to their arthritis that they would prefer to treat the IOP [rather than] give up the supplements," he said. "The large [National Institutes of Health] study on glucosamine suggested there could be a group of arthritic patients who do benefit from this supplement, but the majority did not show much, if any, benefit. Given that data, it appears that many may be taking this supplement needlessly, if not dangerously."
Study limitations noted by the investigators and Dr. Sherman include its retrospective design and the very small sample with limited generalizability because it consisted of patients who were at least glaucoma suspects. The study did not account for glucosamine dosage, duration, brand, or compliance.
"[M]y personal observations suggest that the response is very similar to what we see with steroids, in that the average patient will have little IOP effect..., but that there is a higher risk group who must be identified to avoid harm from their steroid treatment," Dr. Jaccoma said. "I believe...we will find a similar...group that reacts this way to glucosamine..., but more research is needed."
Coauthor Mona Doss, MA, also from the University of New England College of Osteopathic Medicine, suggests larger, randomized clinical trials are needed to assess dose-dependent increase in IOP with glucosamine supplementation in different patient groups.
"At this point in time more research is required to definitively change current management," she said. "The clinical implications may indicate consideration by primary care or other providers in recommending such supplementation for arthritis in patients with known risk of elevated IOP or glaucoma."
"These results will need to be replicated in a larger population of patients to be felt to be entirely reliable," Dr. Sherman concluded. "{After confirming] these results with a larger study, [they should] study the real clinical implications of this increase in IOP for...those with and without glaucoma."
The study authors and Dr. Sherman have disclosed no relevant financial relationships.
JAMA Ophthalmol. Published online May 23, 2013. Extract

Medscape Medical News © 2013 WebMD, LLC
Send comments and news tips to news@medscape.net.
Cite this article: Glucosamine Linked to Increased Intraocular Pressure. Medscape. May 24, 2013.




อืม ... มีหลายประเด็นที่อยากจะคุยนะครับพี่ สำหรับ ตัวงานวิจัย ขอข้ามไปนะครับ เพราะถ้าเอาเรื่องวิธีวิจัยก็จะคุยเรื่องอื่นต่อไม่ได้เลย .. ในความเห็นเมื่ออ่านจบ ก็คือ
๑. เป็น "ข้อมูล" ที่เพิ่มเติม .. ทำให้ แพทย์ที่ใช้ "ระมัดระวังเพิ่มขึ้น" ... (ยาทุกตัว มีผลเสียผลข้างเคียงทั้งนั้น เราคงไม่เลิกใช้ยานั้น เพียงเพราะว่า มีผลข้างเคียง ผลเสีย )
๒. กลูโคซามีน เป็นยา (สารเคมี) จะบอกว่า ปลอดภัย ไม่มีอันตราย ไม่มีผลข้างเคียง ก็คงไม่ถูกต้อง
๓. ยากลูโคซามีน เป็นเพียงตัวช่วยเสริม ไม่ได้เป็น "หลักสำคัญ" ในการรักษา ข้อเข่าเสื่อม ( การดูแลตนเองบริหารสำคัญที่สุด )
๔. ประสบการณ์ของผม มีคนไข้ ที่ใช้กลูโคซามีนแล้วดีขึ้น ก็มี ผมจึงแนะนำคนไข้ว่าเป็น "ทางเลือก" เท่านั้นครับ


โดย: หมอหมู วันที่: 25 พฤษภาคม 2556 เวลา:13:16:03 น.  

 
สมาคม ESCEO ชี้คริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) แตกต่างจากกลูโคซามีนชนิดอื่นๆ และควรเป็นยาพื้นฐานในการรักษาโรคข้อเสื่อม

ลีแยร์ฌ, เบลเยียม--2 ธ.ค.--พีอาร์นิวส์ไวร์/อินโฟเควสท์

คณะทำงานเฉพาะกิจของสมาคม European Society for Clinical and Economic Aspects of Osteoporosis and Osteoarthritis (ESCEO) และแพทย์ผู้เชียวชาญจากทั่วโลก ได้มีมติร่วมกันในการใช้แนวทางการรักษาอย่างเป็นลำดับขั้นตอนของ ESCEO ในทางปฏิบัติและหาข้อสรุปร่วมกันในข้อมูลทั้งหมดของกลูโคซามีน เพื่อชี้ชัดถึงความแตกต่างระหว่างคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) ซึ่งผ่านการรับรองทางคลินิก กับกลูโคซามีนชนิดอื่นๆที่ไม่ได้ผลในทางคลินิก



(โลโก้: //photos.prnewswire.com/prnh/20151124/290592LOGO )

(Place and date)-แม้ว่าจะมีแนวทางปฏิบัติสำหรับการรักษาโรคข้อเสื่อมที่คำนึงด้านหลักฐ านทางการศึกษาจากองค์กรต่างๆทั้งในยุโรป อเมริกา และทั่วโลกแต่ก็ยังไม่สามารถสร้างมาตรฐานการรักษาร่วมกันได้

แต่เดิมการรักษาโรคข้อเสื่อมนิยมใช้ยาระงับปวดและยาต้านการอักเสบ โดยมีพาราเซตามอลเป็นยาพื้นฐานที่ใช้บรรเทาอาการปวด แต่ก็เกิดความกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้ยา ซึ่งรวมถึงผลข้างเคียงต่อทางเดินอาหารและตับ

นอกจากนี้แนวทางการรักษาเกือบทั้งหมดไม่ได้ระบุชัดเจนถึงความแตกต่างระหว่าง กลูโคซามีนที่ได้รับการพิสูจน์ทางคลินิก (จากเกณฑ์ที่มีหลักฐานการศึกษารองรับและ Cochrane Review) กับกลูโคซามีนที่ไม่ได้รับการพิสูจน์ทางคลินิก ยกเว้นแนวทางการรักษาอย่างเป็นลำดับขั้นตอนของ ESCEO ซึ่งระบุถึงความแตกต่างไว้อย่างชัดเจน จึงก่อให้เกิดความไม่สอดคล้องในแนวทางการรักษาโรคข้อเสือม อีกทั้งทำให้เกิดความสับสนในการปฏิบัติด้วย

แนวทางการรักษาอย่างเป็นขั้นตอนของ ESCEO นำเสนอทางเลือกใหม่ ด้วยการใช้ยารักษาโรคข้อเข่าเสื่อมที่ออกฤทธิ์ช้า (SYSADOAs) ซึ่งมีคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร(pCGS) เป็นยาพื้นฐาน และเสริมด้วยยาพาราเซตามอลเพื่อระงับปวดตามความจำเป็น ศาสตราจารย์ ฌอง-อีฟ รีจินส์เตอร์ ผู้ร่วมก่อตั้งและประธานของ ESCEO กล่าวว่า "แนวทางของ ESCEO แนะนำให้ใช้ยา SYSADOAs โดยเฉพาะคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟตที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) และคอนดรอยติน ซัลเฟต ที่จดทะเบียนเป็นยา ให้เป็นยาพื้นฐานในการรักษาโรคข้อเสื่อม ปัจจุบันเห็นได้ชัดว่ายาต่างๆไม่ได้มีประสิทธิภาพเหมือนกันทั้งหมด และความแตกต่างระหว่างแนวทางการรักษาทั้งหลายสะท้อนให้เห็นถึงความจริงที่ว่ า แนวทางเหล่านี้ไม่ได้พิจารณาการรักษาจากยาตัวเดียวกัน"

"สาระสำคัญประการแรกที่ได้จากการประชุมคือ แนวทางการรักษาทั้งหมดล้วนเห็นตรงกันว่ากลูโคซามีน ไฮโดรคลอไรด์ไม่ได้ผลในการรักษา ตัวยาดังกล่าวไม่เคยได้รับการพิสูจน์ว่ามีประสิทธิภาพในการทดลองทางคลินิก และไม่เคยมีการวิจัยใดๆที่แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการรักษาของกลูโคซามี น ไฮโดรคลอไรด์แต่อย่างใด"

ศาสตราจารย์ รีจินส์เตอร์ กล่าวเสริมว่า "ในส่วนของกลูโคซามีน ซัลเฟตที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน พบว่ายังมีความแตกต่างในแต่ละสูตรตำรับ โดยสูตรตำรับยาส่วนใหญ่มักไม่คงตัวและไม่ควรนำไปใช้เพราะถือว่าเป็นยาปลอม ซึ่งอ้างว่าเป็นสูตรตำรับที่มีความ"คงตัว" แต่เป็นเพียงการผสมกลูโคซามีน ไฮโดรคลอไรด์ และโซเดียม ซัลเฟต เข้าด้วยกันเท่านั้นซึ่งไม่มีความคงตัวแต่อย่างใด เพื่อให้การรักษามีประสิทธิภาพ โมเลกุลจะต้องถูกทำให้คงตัวในรูปของคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร(pCGS) โมเลกุลที่ถูกทำให้คงตัวเท่านั้นที่สามารถทำให้มีระดับความเข้มข้นของยาเพีย งพอที่จะส่งผลในการรักษาทั้งในกระแสเลือดและน้ำเลี้ยงข้อ และมีข้อมูลการทดลองที่แสดงถึงประสิทธิภาพอย่างชัดเจน ในมุมมองของการดำเนินไปตามธรรมชาติของโรคข้อเสื่อม การใช้สั่งใช้ยากลูโคซามีนที่ไม่มีความคงตัว จากผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ถือเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามหลักจรรยาบรรณ เพราะเป็นที่ทราบดีว่าในท้ายที่สุดผู้ป่วยจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดจากผลการ รักษานั้นเลย"

สรุป

การประชุมครั้งนี้ก่อให้เกิดความก้าวหน้าครั้งสำคัญในการเห็นพ้องร่วมกันถึง ความแตกต่างของแนวทางในการรักษา โดยคณะทำงานเฉพาะกิจต่างเห็นพ้องร่วมกันในความแตกต่างระหว่างคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) ซึ่งได้รับการพิสูจน์ทางคลินิกและจดทะเบียนเป็นยา กับกลูโคซามีนประเภทอื่นๆ

หลักฐานทางคลินิกของคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร

- มีประสิทธิภาพที่ดีกว่าในแง่ของการลดอาการปวดและการทำงานของเข่า

- ช่วยชะลอการดำเนินไปของโรค

ด้วยเหตุนี้ คริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) จึงเหนือกว่ากลูโคซามีนประเภทอื่นๆที่วางจำหน่ายในตลาด โดยเป็นกลูโคซามีนเพียงชนิดเดียวที่มีความคงตัวและมีความน่าเชื่อถือทางการร ักษา โดยส่งผลให้มีระดับความเข้มข้นของกลุโคซามีนที่ให้ผลในการรักษาทั้งในกระแสเ ลือดและและในข้อ ดังนั้นเมื่อจะสั่งยาพื้นฐานในการรักษาโรคข้อเสื่อม แพทย์ควรพิจารณาคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) ซึ่งถือได้ว่าเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด

แหล่งข่าว: ESCEO


โดย: หมอหมู วันที่: 18 ธันวาคม 2558 เวลา:14:06:09 น.  

 
สมาคม ESCEO ชี้คริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) แตกต่างจากกลูโคซามีนชนิดอื่นๆ และควรเป็นยาพื้นฐานในการรักษาโรคข้อเสื่อม

ลีแยร์ฌ, เบลเยียม--2 ธ.ค.--พีอาร์นิวส์ไวร์/อินโฟเควสท์

คณะทำงานเฉพาะกิจของสมาคม European Society for Clinical and Economic Aspects of Osteoporosis and Osteoarthritis (ESCEO) และแพทย์ผู้เชียวชาญจากทั่วโลก ได้มีมติร่วมกันในการใช้แนวทางการรักษาอย่างเป็นลำดับขั้นตอนของ ESCEO ในทางปฏิบัติและหาข้อสรุปร่วมกันในข้อมูลทั้งหมดของกลูโคซามีน เพื่อชี้ชัดถึงความแตกต่างระหว่างคริสตัลไลน์ กลูโคซามีน ซัลเฟต ที่ได้รับการจดสิทธิบัตร (pCGS) ซึ่งผ่านการรับรองทางคลินิก กับกลูโคซามีนชนิดอื่นๆที่ไม่ได้ผลในทางคลินิก



(โลโก้: //photos.prnewswire.com/prnh/20151124/290592LOGO )

(Place and date)-แม้ว่าจะมีแนวทางปฏิบัติสำหรับการรักษาโรคข้อเสื่อมที่คำนึงด้านหลักฐ านทางการศึกษาจากองค์กรต่างๆทั้งในยุโรป อเมริกา และทั่วโลกแต่ก็ยังไม่สามารถสร้างมาตรฐานการรักษาร่วมกันได้

แต่เดิมการรักษาโรคข้อเสื่อมนิยมใช้ยาระงับปวดและยาต้านการอักเสบ โดยมีพาราเซตามอลเป็นยาพื้นฐานที่ใช้บรรเทาอาการปวด แต่ก็เกิดความกังวลเก%


โดย: หมอหมู วันที่: 18 ธันวาคม 2558 เวลา:14:06:50 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

หมอหมู
Location :
กำแพงเพชร Thailand

[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 762 คน [?]




ผมเป็น ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ หรือ อาจเรียกว่า หมอกระดูกและข้อ หมอกระดูก หมอข้อ หมอออร์โธ หมอผ่าตัดกระดูก ฯลฯ สะดวกจะเรียกแบบไหน ก็ได้ครับ

ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาหนึ่ง ซึ่งเมื่อเรียนจบแพทย์ทั่วไป 6 ปี ( เรียกว่า แพทย์ทั่วไป ) แล้ว ก็ต้องเรียนต่อเฉพาะทาง ออร์โธปิดิกส์ อีก 4 ปี เมื่อสอบผ่านแล้วจึงจะถือว่าเป็น แพทย์ออร์โธปิดิกส์ โดยสมบูรณ์ ( รวมเวลาเรียนก็ ๑๐ ปี นานเหมือนกันนะครับ )

หน้าที่ของหมอกระดูกและข้อ จะเกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วย ของ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก ข้อ และ เส้นประสาท โรคที่พบได้บ่อย ๆ เช่น กระดูกหัก ข้อเคล็ด กล้ามเนื้อฉีกขาด กระดูกสันหลังเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม กระดูกพรุน เป็นต้น

สำหรับกระดูกก็จะเกี่ยวข้องกับกระดูกต้นคอ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน กระดูกข้อไหล่ จนถึงปลายนิ้วมือ กระดูกข้อสะโพกจนถึงปลายนิ้วเท้า ( ถ้าเป็นกระดูกศีรษะ กระดูกหน้า และ กระดูกทรวงอก จะเป็นหน้าที่ของศัลยแพทย์ทั่วไป )

นอกจากรักษาด้วยการให้คำแนะนำ และ ยา แล้วยังรักษาด้วย วิธีผ่าตัด รวมไปถึง การทำกายภาพบำบัด บริหารกล้ามเนื้อ อีกด้วย นะครับ

ตอนนี้ผม ลาออกจากราชการ มาเปิด คลินิกส่วนตัว อยู่ที่ จังหวัดกำแพงเพชร .. ใช้เวลาว่าง มาเป็นหมอทางเนต ตอบปัญหาสุขภาพ และ เขียนบทความลงเวบ บ้าง ถ้ามีอะไรที่อยากจะแนะนำ หรือ อยากจะปรึกษา สอบถาม ก็ยินดี ครับ

นพ. พนมกร ดิษฐสุวรรณ์ ( หมอหมู )

ปล.

ถ้าอยากจะถามปัญหาสุขภาพ แนะนำตั้งกระทู้ถามที่ .. เวบไทยคลินิก ... ห้องสวนลุม พันทิบ ... เวบราชวิทยาลัยออร์โธปิดิกส์ หรือ ทางอีเมล์ ... phanomgon@yahoo.com

ไม่แนะนำ ให้ถามที่หน้าบล๊อก เพราะอาจไม่เห็น นะครับ ..




New Comments
[Add หมอหมู's blog to your web]