All Blog
ในที่สุดก็เขียนบล็อกของตัวเองได้แล้ว เย้ๆๆ
หลังจากงงๆอยู่หลายวัน วันนี้ก็ได้ฤกษ์ทำบล็อกของตัวเองซะที เอาไว้มีอะไรจะมาเล่าให้ฟังในนี้ก็แล้วกันเนอะ อิอิ



Create Date : 06 กันยายน 2549
Last Update : 6 กันยายน 2549 21:52:18 น.
Counter : 468 Pageviews.

8 comments
  
ลงชื่อคนแรก
โดย: สายัณห์ ตะวันเพลิง วันที่: 6 กันยายน 2549 เวลา:22:40:04 น.
  
มาให้กำลังใจจ้ะ
โดย: FaRaWaYGiRL วันที่: 6 กันยายน 2549 เวลา:22:47:18 น.
  
ลงชื่อคนที่ 3 ยินดีด้วยนะคะที่สร้างบล๊อกตัวเองได้สำเร็จ ต่อไปอัพบ่อยๆจะเก่งได้เองจ้า
โดย: J-Nap วันที่: 6 กันยายน 2549 เวลา:23:29:03 น.
  
หวัดดีค่ะ

แหะ..แหะ..ยินดีต้อนรับเพื่อนใหม่ค่ะ.
ขอแวะมาเที่ยวบ้านนี้หน่อยนะคะ
บล๊อคสดใสดีค่ะ..ชอบ ชอบ

วันหลังขอมาเที่ยวใหม่นะคะ
โดย: ..นางฟ้าออนไลน์.. วันที่: 6 กันยายน 2549 เวลา:23:39:43 น.
  
ยินดีด้วยนะ
แล้วจะแวะมาอีก
โดย: shamuneko วันที่: 7 กันยายน 2549 เวลา:0:31:55 น.
  
สวัสดีจ้า...ยินดีที่ได้รู้จักนะจ๊ะ
โดย: ชีพชีวิน วันที่: 7 กันยายน 2549 เวลา:14:08:44 น.
  
ป้า แอน สวัสดี ครับ คุณป้า ยังสาว อิอิ



ผมไม่ใชเกย์ นะฮะ
โดย: Nuke Skywalker The insane (NukeSkywalker ) วันที่: 13 กันยายน 2549 เวลา:6:16:11 น.
  
จิตเป็นสมาธิช่วยได้
การเข้าใจว่าจิตละกิเลส นี่เป็นการเข้าใจผิด จิตไม่มีทางที่จะละอะไรได้ เพราะจิตปุถุชน กลิ้งกลอก ปรวนแปร วิปลาส เห็นว่าเป็นตน จึงเห็นว่าไม่มีประโยชน์ที่จะไปละสิ่งที่ตนชอบ ตนหลง และก็ไม่รู้วิธีละด้วย แต่ถ้าจิตได้รับการฝึกดีแล้ว จิตจะเห็นตน และจิตจะรู้ว่านี่ไม่ใช่ตน จิตเห็นธรรมตามความเป็นจริง การที่จิตเห็น ธรรมะ ตามความเป็นจริงได้ จิตจะไม่ใช้สัญญา สังขาร ไปปรุงแต่งจิต จิตจะใช้วิญญาณ ในการรับรู้ ธรรมะที่เกิดขึ้นกับจิต เป็นมโนวิญญาณ จิตจะรู้วิธีทำให้วิปัสสนาเกิด จิตไม่ได้ใช้สัญญา สังขาร ไปปรุงแต่งจิต เพื่อต้องการวิป้สสนา แต่จิตจะสร้างวิปัสสนา ขึ้นมาโดยการใช้ อานาปานสติ เป็นพื้นฐาน เนื่องจากกายใช้อากาศหายใจ ทำอานาปานสติ จิตจะรู้ ลมหายใจ และรู้กาย เมื่อจิตเห็น ลมหายใจทั่ว ก็จะเห็นกายทั่ว เช่นกัน จิตนิ่งจะเป็นสมาธิ และมีสติด้วยเมื่อจิตเห็นลมหายใจละเอียดขึ้น จิตก็จะเห็นกายละเอียดขึ้น รู้สึก กายเบา ใจเบา สมาธิเป็นสัมมาสมาธิ สติ เป็นสัมมาสติ จิตก็จะเป็นฌาณ วิปัสสนาก็มีขึ้นด้วย จิตถึงฌาณที่ หนึ่ง จิตจะ ดูธรรมะ ที่เกิดขึ้นที่จิต ไม่ใช่ธรรมะที่เกิดจากสัญญา ไม่ใช่ธรรมะที่ตนคิดเอง ว่าสิ่งนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็น ไตรลักษณ์ อันนั้นได้แต่นึกคิดเอาเอง แล้วก็คิดฟุ้งซ่านจนจิตวิปลาส แปรปรวน กลับกลอก ไปมา จิตก็ยึดความคิดเป็นตน ไม่เห็นธรรมะตามความเป็นจริง ตนจะต้องตัดสัญญา ออกให้หมด ขณะวิปัสสนาเกิด ไม่เช่นนั้นจะเป็นวิปัสสนูปกิเลส คือน้อมใจเชื่อว่าตน เห็นธรรม แต่เป็นธรรมะที่จิตหลอกตนเอง ฌาณที่หนึ่ง จิตยังไม่มีกำลังพอที่จะเห็นธรรมะอย่างทะลุตลอด จะติดขัด สงสัยอยู่ตลอดว่าอันนี้ มีหรือไม่มี เป็นอย่างไร จิตยังไม่รู้ธรรมชาติของจิต ให้ดูความคิดความสงสัย ให้นิ่งโดยใช้สมาธิ ใช้สติ ดูจิตที่ท่ามกลางอก อย่าส่ายจิตไปมา อย่าเอาจิตไปไว้ที่หัว อย่าเอาจิตไปไว้ที่ตา อย่าเอาจิตไปไว้ ที่จมูก อย่าเอาจิตไปไว้ที่หู อย่าถอดจิตไปไว้ที่อื่น เป็นการ ทำให้จิตไม่มีสมาธิ ให้เอาสติไปจับสิ่งที่เรียกว่า อยตนะภายใน อยตนะภายนอก จิตก็จะรู้ทั้งภายในกายและภายนอกกายเอง จิตจะรู้ทั่ว ก็จะเกิดปีติ เมื่อจิตเกิดปีติ ก็ดูรู้ว่าจิตเกิดปีติ ให้ดูอารมณ์ ปีติเฉย อย่าไปตกใจ หรือดีใจ ให้ประคองจิต รู้ว่า ปีติ เกิดขึ้นได้ และดับเองได้ ไม่ยั่งยืน เมื่อจิตรู้ว่าปีติไม่ใช่ตน จิตก็จะเป็นสุข จิตจะรู้สึกกายเบาใจเบา ไม่อยากออกจากสมาธิ ถ้าตนไม่รู้จักดูว่าความสุขเป็นอย่างไร จิตก็จะติดสุข ฌาณและวิปัสสนาก็จะไม่ก้าวหน้า ให้ตนดูความสุข กายเบาใจเบา เฉยๆ อย่าไปปรุงแต่ง ตามสัญญา ว่าความสุขต้องแบบนี้ ต้องแบบนั้น อันนี้ไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง ความสุขยิ่งกว่านี้ยังมี จิตก็ไม่เห็นธรรมะที่แท้จริง จิตก็เลยเรียนแบบ สัญญา ที่ไปคิดปรุงแต่งให้จิต ฌาณก็ไม่เจริญ วิปัสสนาก็เป็น วิป้สสนึก คือจิตจะนึกเองเออเอง ว่าอันนี้แหละใช่เลย สิ่งนี้ไม่ใช่ แล้วก็จะวนเวียนอญุ่แบบนั้น ถ้าไม่ระวังไปบังคับจิตให้นึกมากๆ จิตเกิดวิปัสสนูปกิเลส ถ้ายังไม่รู้ตัว จิตจะเกิด วิปลาสได้ เมื่อจิตเห็นความสุขที่เกิด และดับไป จิตจะรู้ว่าสิ่งนี้เป็นทุกข์ ความทุกข์มี สองแบบ คือทุกข์ปกปิด กับทุกข์ไม่ปกปิด จิตจะรู้ว่าที่เห็นว่าสุข เป็นทุกข์ ปกปิด คือไม่เที่ยง เมื่อจิตรู้ว่าไม่มีสิ่งใด เที่ยง จิตก็จะเลิกดู จิตจะเป็นอุเปกขา จิตจะรู้ในวิญญาณ รู้ในสัญญา รู้ในสังขาร รู้ในเวทนา รู้ที่กาย เฉยอยู่ เป็นอารมณ์เลิศในการเห็นขันธ์ห้า เฉยอยู่ จิตได้พัฒนาจนมีวิปัสสนาฌาณ ที่มีกำลังเข้มแข็ง จิตจะรู้ กายที่กาย รู้จิตที่จิต รู้ธรรมที่ธรรม รู้เวทนาที่เวทนา จิตจะเห็น กุศล และอกุศล เห็นกิเลสที่ครอบงำจิตอยู่ ที่คอยบังคับให้จิต ฟุ้งซ่าน รำคาญใจ โมโห โกรธา อยากในกาม ในราคะ เมื่อจิตรู้จักกิเลสเหล่านี้ จิตจะหาทาง ละ แต่จิต ยังไม่มีกำลังพอ จิตเริ่มสร้างกำลัง สร้างความเข้มแข้ง สร้างความเพียร จิตคิดทบทวนหา หน ทาง ที่จะต่อสู้กับกิเลส ขณะที่จิตเป็นฌาณ กิเลสจะหลบ จิตไม่กล้ามาประเชิญหน้า กับจิต เมื่อจิตเผลอ กิเลสก็ออกมา หลอกจิตให้ฟุ้งซ่านอีก จิตก็ต้องมาคิดทบทวนหา ทาง ที่จะถอนลาก ถอน โคน กิเลสให้หมดจากจิต จิตเห็น ทาง อยู่ แปดทาง แต่จิตยังไปไม่ถูก จิตยังไม่รู้จักวิธี ที่จะกำจัดกิเลสอย่างแท้จริง จิตก็ทบทวนหาหน ทาง ในทางทั้งแปดนั้น คือจิตมีอาวุธพร้อม แต่จิตยังใช้ไม่เป็น จิตจะนึก ละ กิเลส ก็นึกไม่ได้ กิเลสไม่ยอมไป กิเลส จะคอยหลบจิตไม่ให้จิตเห็น จิตก็นึกว่ากิเลสไปแล้ว พอจิตเผลอ กิเลส ก็กลับมาอีก เป็นแบบนี้อยู่เรื่อยไป จนจิตหาหนทางไม่ได้ จิตก็เลยดูกิเลสอยู่ เฉยๆ กิเลส อยากทำอะไรก็ทำอะไรก็ทำไป พอจิตดูอยู่เฉยๆ จิตก็เกิด อุเปกขา พร้อมด้วย วิปัสสนาญาณ เกิดปัญญา เห็นหนทางทั้งแปด และของวิเศษ ที่จะมาเสริมสร้างให้จิตสามารถ ถอนรากถอนโคน กิเลส ที่คอยหลอกหลอนอยู่ จิตจะเห็น อริยมรรคสมังคีย์ คือโพธิปัฏขิยธรรม 37 ประการเมื่อจิตเห็นอริยมรรคสมังคีย์ ก็คือโพธิปัฏขิยธรรม37ประการนี้ จิตรู้วิธีกำจัด กิเลสที่มาครอบงำจิตมายาวนาน จิตที่เป็นฌาณจิตจะมีฤทธิ์ มีความร้อนที่พร้อมจะเผาผลาญกิเลส อยู่แล้วแต่จิตไม่รู้คุณสมบัตินี้ เมื่อจิตเห็นโพธิปัฏขิยธรรม จิตเกิดปัญญาที่เฉียบแหลม คือรู้ว่าจิตเกิดอุศล อกุศลทั้งปวงไม่สามารถเกิดได้ กิเลสทั้งหลาย จะหลุดไปเอง ไม่เกิดขึ้นมาใหม่ โดยที่จิตไม่ได้ไปนึกละให้สับสนวุ่นวายใจ จิตเห็นโพธิปัฏขิยธรรม จิตเห็นความเกิด ความดับ ของตน เห็น ความตาย จิตเกิดความเบื่อหน่ายในตน จิตเห็นปฏิสมุทบาท จิตรู้ว่าความสงสัยในตนไม่มี ไม่ยึดติดในตน จิตรู้ว่าอกุศลในจิตไม่มี จิตเป็นกุศล ไม่กลัวว่าต้องตกอบายภูมิ จิตไม่โกรธ จิตไม่มีราคะ จิตไม่ฟุ้งซ่าน จิตไม่มีมานะ จิตไม่ยึดติด กามภพ จิตไม่ยึดติด อรูปภพ จิตเห็นวิชชา
โดย: จิตเป็นสมาธิช่วยได้ (สมาชิกหมายเลข 3481473 ) วันที่: 27 พฤศจิกายน 2559 เวลา:17:14:05 น.
ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
 *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

แอนนะยะ
Location :
สมุทรปราการ  Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]
 ฝากข้อความหลังไมค์
 Rss Feed
 Smember
 ผู้ติดตามบล็อก : 2 คน [?]



เบื่อกับการมีชีวิตตามกระแสสังคม ต่อนี้ไปฉันจะมีชีวิตอย่างที่ฉันต้องการจะเป็นเท่านั้น แค่มีความสุขกับตัวเองและคนที่บ้านก็เพียงพอ