สมาคมครูหนุ่มหล่อแห่งประเทศไทย
Group Blog
 
All Blogs
 
Introduction to Quantum Mechanics I

แนวการสอนและการประเมินผล


รหัสวิชา 4013401 น (ท -ป)

ชื่อวิชา กลศาสตร์ควอนตัม 1 3 (2 - 2)
(Introduction to Quantum Mechanics I) 64 คาบ / ภาคเรียน

อาจารย์ผู้สอน นายทศวรรษ สีตะวัน

คำอธิบายรายวิชา

รากฐานของกลศาสตร์ควอนตัม สมการของ Schrodinger ฟังก์ชัน probability density Hamonic oscillator และระดับพลังงาน การประยุกต์ใช้สมการคลื่นกับอะตอมของไฮโดรเจน สเปกตรัมของไฮโดรเจน Quantization of angular momentum , Zeeman effect, spin orbit inteeraction, atom with many electrons, โมเลกุลของของแข็ง โครงสร้างและกระบวนการนิวเคลียร์ (Nuclear structure and processes )

จุดมุ่งหมายในการจัดการเรียนการสอน

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ในระดับอุดมศึกษาสอดคล้องและต่อเนื่องกับระดับมัธยมศึกษา
2. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการและปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์
3. เพื่อให้สามารถประยุกต์หลักการทางฟิสิกส์นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
4. เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อวิชาฟิสิกส์










การจัดการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา วิธีเรียนวิธีสอน
1 บทที่ 1. รากฐานของกลศาสตร์ควอนตัม
1.1 ความล้มเหลวของฟิสิกส์ยุคเก่า
1.2 ระบบในกลศาสตร์ควอนตัม
1.3 คุณสมบัติในแง่คลื่นของอนุภาค
1.4 ตัวอย่างการทดลองในอุดมคติ
1.5 ขอบเขตของกลศาสตร์ควอนตัม
1.6 คุณสมบัติในแง่อนุภาคของคลื่น
1.7 หลักสมบูรณภาพ
1.8 หลักแห่งความเกี่ยวพัน
2 - 3 บทที่ 2 Operators and Matrix Mechanics
2.1 ความหมายของ Operators
2.2 Linear Operators
2.3 Eigenvalue problem
2.4 Hermitian Operators
2.5 Commutation Relation
2.6 State vector
2.7 Harmonic Oscillator
2.8 Angular Momentum
2.9 Expectation value
4 บทที่ 3 Postulates ของกลศาสตร์ควอนตัม
3.1 ฟังก์ชันคลื่น
3.2 ปริมาณฟิสิกส์และการวัด
3.3 Basic commutations
3.4 สมการ Schrodinger
3.5 หลักความไม่แน่นอนของ Heisenberg



การจัดการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา วิธีเรียนวิธีสอน
5-6 บทที่ 4. โมเมนตัม
4.1 State Function ที่เกี่ยวกับโมเมนตัมที่มีค่าแน่นอน
4.2 Fourier transfrom และ Dirac Delta function
4.3 Momentum และ Configuration space
4.4 Momentum และ Position operators
4.5 Commutation Relations
4.6 กฎความไม่แน่นอน
7 บทที่ 5 สถานะของอนุภาคในหนึ่งมิติ
5.1 Symmetry และ Parity Operator
5.2 Continuum และ Bound state
5.3 ปัญหาเรื่อง Harmonic Oscillator
5.4 Bound state ใน Square well potential
5.5 Probability flux
5.6 Continuum state ของ Square well potential
5.7 ปรากฏการณ์ Tunnel effect
8 ทดสอบระหว่างภาค
9-10 บทที่ 6 ปัญหาใน 1 มิติ ตอนที่1 : Bound state
6.1 Infinite squawell
6.2 Finite well
6.3 Harmonic Oscillator
11-12 บทที่ 7 ปัญหาใน 1 มิติ ตอนที่ 2 : Unbound state
7.1 อนุภาคอิสระ
7.2 Current Density
7.3 Step Potential
7.4 Potential Barrier
7.5 Fourier Transforms


การจัดการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา วิธีเรียนวิธีสอน
13-14 บทที่ 8 สถานะของอนุภาคใน 3 มิติ
8.1 Infinite Box
8.2 Harmonic Oscillator
8.3 Angular Momentum
8.4 Spherical Symmetric Potential
8.5 Infinite Sphere
8.6 Finite sphere
8.7 Spherical harmonic oscillator
15 บทที่ 9 ไฮโดรเจนอะตอม 9.1 CM system
9.2 สถานะของอิเล็กตรอน
9.3 Spin ของอิเล็กตรอน
16 ทดสอบปลายภาคสัปดาห์

วิธีสอน
1. บรรยายสรุป ซักถาม ทำแบบฝึกหัด
2. ค้นศึกษาอ่านเอกสารอ้างอิง

การประเมินผล
1. สอบปากเปล่า 15 %
2. ทดสอบย่อย 15 %
3. สอบกลางภาค 30 %
4. สอบปลายภาค 40 %





การวัดผล
1. มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 60 % จึงมีสิทธิ์สอบปลายภาค
2. ถ้าขาดสอบกลางภาคและ/หรือปลายภาคจะได้ผลการเรียนเป็น จ
3. เมื่อรวมคะแนนทั้งหมดได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ได้ผลการเรียน จ
40 - 50 ได้ผลการเรียน ง
51 – 70 ได้ผลการเรียน ค
71 – 80 ได้ผลการเรียน ข
81 – 100 ได้ผลการเรียน ก

เอกสารหลัก

1. Schiff, L.I., Quantum Mechanics, 3 rd ed., Mc Graw-Hill Book, Inc., New York, 1968.
2. นรา จิรภัทรพิมล กลศาสตร์ควอนตัม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เชียงใหม่, 2539.
3. ประสิทธิ์ เจริญขวัญ กลศาสตร์ควอนตัม 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 2520.

เอกสารค้นคว้าเพิ่มเติม
1. P.T. Mathews, “ Introdection to Quantum mechanics”, 2nd edition, London., Mc Graw-Hill (1968)
2. Bohm, D.,Quantum Theory, 7th printing, Prentice – Hell, Inc., Englewood Cliffs, N.J.,1959.
3. Merzbacher, E.,Quantum Mechanics, 2nd ed., John Wiley & Sons, Inc., New York, 1970.
4. R.L. Liboff, “Introduction Quantum Mechanics”, John Wiley & Sons, Inc., New York, 1982.
5. F. Constantinescu and E. Magyari , “Problems in quantum mecanics”, Pergamon press., New York , 1971.



โครงการสอน ( Course Syllabus )
การทดลองสอนวิชาฟิสิกส์
รหัส 1023807 น : ( ท-ป)
ชื่อวิชา การทดลองสอนวิชาฟิสิกส์ ( Teaching Practice Under Supervision in Physics )
หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สายมัธยมศึกษา
โปรแกรมวิชาฟิสิกส์ หมวดวิชาเฉพาะด้าน
กลุ่มวิชา ปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ วิชาเอกฟิสิกส์

1. คำอธิบายรายวิชา
การฝึกเตรียมการสอนและทดลองสอนบทเรียนสั้นๆในรายวิชาฟิสิกส์ชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

2. จุดประสงค์รายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาสามารถ
1. เตรียมการสอนวิชาฟิสิกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีความคิดรวบยอด แนวความคิดต่อเนื่อง จุดมุ่งหมาย รายละเอียดของเนื้อหาความรู้ การจัดกิจกรรม การวัดผล และประเมินผลตามหลักสูตรวิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 )
2. สอนบทเรียนในรายวิชาฟิสิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายได้ โดยเน้นการผสมผสานระหว่างเนื้อหาความรู้และการแสวงหาความรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ได้โดยอาศัยสื่อต่างๆ ที่เน้นให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้

3. อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์หยกฟ้า อินสิน คบ. (เกียรตินิยม)
คม. (การศึกษาวิทยาศาสตร์)
สถานที่ทำงาน ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สถาบันราชภัฎสกลนคร
โทร (042) 711274 ต่อ 212
4. เนื้อหา เวลาเรียน กิจกรรม

สัปดาห์ที่ เนื้อหาหรือหัวข้อ กิจกรรมการเรียนการสอน
1-2 บทนำ
ทบทวนความรู้เดิม
1. โครงสร้างหลักสูตรวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 )
2. จุดประสงค์ของหลักสูตรและการสอนวิชาฟิสิกส์
3. ลักษณะของหนังสือเรียนและคู่มือครู
4. การวัดผลและประเมินผล
5. การเตรียมการสอนและการเขียนแผนการสอน ศึกษาทบทวนด้วยตัวเองแล้วนำเสนอต่ออาจารย์ผู้สอน
3-16 ทดลองสอน ทดลองสอนตามแผนการสอนนักศึกษา

5. หนังสืออ่านประกอบ
5.1 หนังสือ
ศึกษาธิการ, กระทรวง คู่มือการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย
พุทธศักราช 2524(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ,2535
ศึกษาธิการ,กระทรวง หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524(ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2533) , 2535
ศึกษาธิการ,กระทรวง คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ 1 ว 422 , พ.ศ. 2541.
ศึกษาธิการ,กระทรวง คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ 2 ว 026 , พ.ศ. 2541.
ศึกษาธิการ,กระทรวง คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ 3 ว 028 , พ.ศ. 2541.
ศึกษาธิการ,กระทรวง คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ 4 ว 029 ,
ศึกษาธิการ,กระทรวง คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ 5 ว 0210 ,
ศึกษาธิการ,กระทรวง คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ 6 ว 0211 ,

5.2 วารสาร
5.2.1 วารสาร สสวท.
5.2.2 วารสาร บทคัดย่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
5.2.3 วารสาร ครูวิทยาศาสตร์
5.2.4 วารสาร วิทยาศาสตร์

6. การวัดผลและประเมินผล
6.1 การวัดผล
การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 10 คะแนน
เกมส์ฟิสิกส์ 10 คะแนน
สื่อการสอน 10 คะแนน
การจัดนิทรรศการเพื่อแสดงการใช้สื่อและเกมส์ประกอบการสอนวิชาฟิสิกส์
10 คะแนน
แผนการสอนระยะยาว 5 คะแนน
แผนการสอนรายชั่วโมง 10 คะแนน
การทดลองสอน 20 คะแนน
ข้อสอบวัดจุดประสงค์ 10 คะแนน
ข้อสอบวัดทักษะ 10 คะแนน
ความเป็นครู 5 คะแนน
รวม 100 คะแนน
6.2 การประเมินผล
ประเมินโดยการอิงเกณฑ์
คะแนน 0-49 ผลการเรียน มผ
คะแนน 50-79 ผลการเรียน ผ
คะแนน 80-100 ผลการเรียน ผย

7. นโยบายเฉพาะ
7.1 ไม่รับส่งงานหลังเวลาที่กำหนด
7.2 ให้นักศึกษาเข้าพบปรึกษาเกี่ยวกับงานและการเรียนได้ตาม วัน-เวลา ที่กำหนด
7.3 ในการเข้าชั้นเรียนนักศึกษาต้องแต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับความเป็นครูและมีอุปกรณ์การเรียนขั้นพื้นฐานครบถ้วน

โครงการสอน ( Course Syllabus )
ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1
รหัสวิชา 4011601 น(ท-ป)
ชื่อวิชา ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 1(0-3)
Physics Laboratory 1
ผู้สอน อ.ทศวรรษ อ.กิตติชัย นายวีรชัย

คำอธิบายรายวิชา
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวัดและการหาค่าผิดพลาดเนื่องจากวัดการเคลื่อนที่ของวัตถุและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันการเปลี่ยนรูปพลังงานตามกฎของจูลส์ การกระทบของวัตถุใน 1 มิติ การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก สมบัติการยืดหยุ่นของวัตถุ การหาค่าความจุความร้อนจำเพาะของวัตถุ

จุดมุ่งหมายของการสอน
เพื่อให้นักศึกษาได้
1. ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างจริงจัง
2. เรียนรู้หลักการ กฎเกณฑ์ต่างๆ ทางฟิสิกส์เพิ่มขึ้น
3. มีโอกาสศึกษาเครื่องมือและเทคนิคการใช้ การวัด การทดลอง
4. ฝึกการวัดอย่างละเอียด การหาความคลาดเคลื่อนของการวัด
5. ฝึกการบันทึกผล การวิเคราะห์ผล และการแปลความหมายข้อมูล
6. ฝึกการทำงาน การศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์อย่าง
เป็นระเบียบและเป็นกลุ่ม
7. เสริมสร้างเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และเตรียมความพร้อมเพื่อการวิจัย
ทางวิทยาศาสตร์
การจัดการเรียนการสอน
1. แบ่งนักศึกษาออกเป็น 10 กลุ่ม นักศึกษาแต่ละกลุ่มต้องเข้าทำปฏิบัติการเก็บข้อมูลเขียนรายงานอย่างสมบรูณ์ คิดค่าความคลาดเคลื่อนและตอบคำถาม ส่งรายงานทุกคนๆละ 1 ฉบับ ด้วยกระดาษเขียนรายงาน
2. นักศึกษาจะต้องเข้าห้องปฏิบัติการทุกคนโดยการเซ็นต์ชื่อลงเวลาก่อนเข้าห้องปฏิบัติการ
3. เมื่อทำปฏิบัติการเก็บข้อมูลสมบูรณ์แล้วให้จัดอุปกรณ์ไว้ที่เดิมในสภาพที่เรียบร้อยและเขียนรายงานส่ง
เนื้อหาและกิจกรรม
สัปดาห์ที่ เนื้อหาและกิจกรรม จำนวนคาบ
1-2  ระเบียบในการเรียนปฏิบัติการฟิสิกส์
 จุดมุ่งหมายของการเรียน
 การเขียนรายงาน
 การสร้างตารางและการแสดงข้อมูลด้วยกราฟ
 กราฟเส้นตรง
 ความแม่นยำและความเที่ยงตรงในการวัด
 การคิดค่าความคลาดเคลื่อน 6
3-16  ปฏิบัติการที่ 1-10 (นักศึกษาแต่ละกลุ่มจะทำการทดลองไม่ซ้ำ
กันโดยจะหมุนเวียนในแต่ละสัปดาห์จนครบทุกการทดลอง) 42
การประเมินผล
1. จากการเข้าห้องปฏิบัติการและร่วมปฏิบัติการ ร้อยละ 40
2. จากรายงานการทำปฏิบัติการ ร้อยละ 30
3. จากการสอบภาคทฤษฎีปลายภาค ร้อยละ 30
การวัดผล
1. ต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (ขาดได้ 2 ครั้ง)
2. ส่งรายงานทุกเรื่องที่เข้าทำปฏิบัติการ *
3. เข้าสอบภาคทฤษฎี
4. มีคะแนนรวมร้อยละ 81 ขึ้นไป =
มีคะแนนรวมร้อยละ 76-80 =
มีคะแนนรวมร้อยละ 71-75 =
มีคะแนนรวมร้อยละ 66-70 =
มีคะแนนรวมร้อยละ 51-65 =
มีคะแนนรวมร้อยละ 46-50 =
มีคะแนนรวมร้อยละ 40-45 =
มีคะแนนรวมน้อยกว่าร้อยละ 40 =
8. เอกสารหลัก เอกสารประกอบการสอนวิชา 4011601 และ 4011602
9. สื่อการสอน รายการอุปกรณ์ที่ใช้ในแต่ละปฏิบัติการ
หมายเหตุ * ส่งรายงานประจำสัปดาห์ภายในสัปดาห์ถัดไปจากวันปฏิบัติการ

โครงการสอน ( Course Syllabus )
ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
รหัสวิชา 4011602 น(ท-ป)
ชื่อวิชา ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 1(0-3)
Physics Laboratory 2

คำอธิบายรายวิชา
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการเกิดประจุไฟฟ้าและอิเล็คโทรสโคป การหาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจร กฏของโอห์ม การอัดประจุและการคายประจุไฟฟ้าในวงจร สนามแม่เหล็ก อันเนื่องมาจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำตรงและโซลีนอยด์ การทดลองหาประจุไฟฟ้าต่อมวลโดยใช้หลอดคาโทด การทดลองเกี่ยวกับความถี่ การกำทอน และการเกิดคลื่นนิ่งในเส้นเชือก ชนิดและการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี

จุดมุ่งหมายการสอน
1. ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างจริงจัง
2. เรียนรู้หลักการ กฎเกณฑ์ต่างๆทางฟิสิกส์เพิ่มขึ้น
3. มีโอกาสศึกษาเครื่องมือและเทคนิคการใช้ วัด การทดลอง ด้วยเครื่องมือต่างๆเพิ่มขึ้น
4. ฝึกการบันทึกผล การวิเคราะห์ผลและการแปรความหมายข้อมูล












โครงการสอน ( Course Syllabus )
ฟิสิกส์ทั่วไป 1
รหัสวิชา 4011301 น ( ท - ป )
ชื่อวิชา ฟิสิกส์ทั่วไป 1 3 ( 2 – 2 )
( General Physic I ) 64 คาบ / ภาคเรียน
กลุ่มวิชา เอกบังคับ

คำอธิบายรายวิชา
การวัดและความแม่นยำในการวัด สเกลาร์และเวกเตอร์ การเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆ โมเมนตัม และ กฎการเคลื่อนที่ แรงและผลของแรงงานกำลังและพลังงาน การเคลื่อนที่แบบ ซิมเปิลฮาร์โมนิก การเคลื่อนที่แบบคลื่น คลื่นกล สมบัติของสสาร ปรากฏการณ์ความร้อน อุณหพลศาสตร์ โดยจัดให้มีการสาธิตและการทดลองตามความเหมาะสม

จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนการสอน
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ในระดับอุดมศึกษาสอดคล้องและต่อเนื่องกับระดับมัธยมศึกษา
2. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการ และปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์
3. เพื่อให้สามารถประยุกต์หลักการทางฟิสิกส์นำไปใช้กับชีวิตประจำวันได้
4. เพื่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อวิชาฟิสิกส์

การจัดการเรียนการสอน
สัปดาห์ที่ เรื่อง วิธีเรียนวิธีสอน
1
บทนำ
1.1 วิทยาศาสตร์ ( Science )
1.2 ฟิสิกส์คืออะไร
1.3 การวัดปริมาณทางฟิสิกส์และหน่วยการวัด
1.4 การประมาณค่าและระดับขนาด
1.5 ความไม่แน่นอนของการวัด
1.6 การบันทึกผลการวัด
1.7 เลขนัยสำคัญ
1
บทนำ
1.8 การบันทึกผลการคำนวณ
1.9 ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์
1.10 การรวมเวกเตอร์
1.11 ความสัมพันธ์ระหว่างเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์กับมุม
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 1 : การวัด และความแม่นยำของการวัด
2 บทที่ 2 การเคลื่อนที่
2.1 การบอกตำแหน่งของวัตถุ
2.2 การขจัด
2.3 อัตราเร็ว
2.4 ความเร็ว
2.5 ความเร่ง
2.6 ความสัมพันธ์ระหว่างกราฟ v - t, s - t และ a – t
2.7 การคำนวณจากกราฟ
2.8 ความเร็วสัมพัทธ์
2.9 การคำนวณปริมาณต่างๆ ของการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ โดยใช้สูตร
2.10 เงื่อนไขต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่ภายใต้แรงดึงดูดของโลก
3 บทที่ 3 มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่
3.1 มวล
3.2 แรง
3.3 ชนิดของแรง
3.4 การหาแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ
3.5 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 ของนิวตัน
3.6 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน
3.7 กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน
3
3.8 น้ำหนัก
3.9 แรงเสียดทาน
3.10 การคำนวณหาการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยใช้กฎของนิวตัน
3.11 การคำนวณหาการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีความเร่งไม่เท่ากัน
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 2 : สัมประสิทธิความเสียดทาน
4 บทที่ 4 สภาพสมดุล
4.1 ความหมายของสมดุล
4.2 เงื่อนไขข้อที่ 1 ของสภาพสมดุล
4.3 ตัวอย่างการคำนวณสมดุลโดยใช้เงื่อนไขข้อที่ 1
4.4 โมเมนต์หรือทอร์กของแรง
4.5 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
4.6 เงื่อนไขข้อที่ 2 ของสภาพสมดุล
4.7 ตำแหน่งของจุดหมุน
4.8 ตัวอย่างการคำนวณสมดุลโดยใช้เงื่อนไขข้อที่ 1 และ ข้อที่ 2 ของสภาพสมดุล
4.9 จุดศูนย์กลางมวล
4.10 จุดศูนย์ถ่วง
4.11 ความสัมพันธ์ระหว่างจุดศูนย์กลางมวลและจุกศูนย์ถ่วง
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 3 : การได้เปรียบเชิงกลและประสิทธิภาพของเครื่องกลอย่างง่าย
5 บทที่ 5 การเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
5.1 การเคลื่อนแบบโปรเจกไตล์
5.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนววงกลม
5.3 การเคลื่อนที่บนทางโค้ง
5.4 กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 4 :การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์
6 บทที่ 6 งานและพลังงาน
6.1 งาน
6.2 กำลัง
6.3 พลังงาน
6.4 กฎทรงพลังงาน
7 บทที่ 7 โมเมนตัม
7.1 การดลและแรงดล
7.2 กฎการทรงโมเมนตัม
7.3 การชนกัน
7.4 จุดศูนย์กลางมวล
8 สอบกลางภาค
9 บทที่ 9 การเคลื่อนที่ของกลุ่มอนุภาค
9.1 แรงภายนอกและแรงภายในระบบอนุภาค
9.2 ศูนย์กลางมวล
9.3 การเคลื่อนที่ของศูนย์กลางมวลของกลุ่มอนุภาคที่ได้รับแรงภายนอก
9.4 มวลลดทอน
9.5 โมเมนตัมเชิงมุมของระบบอนุภาค
9.6 โมเมนตัมเชิงมุมภายในและโมเมนตัมเชิงมุมของวง
โคจร
9.7 พลังงานจลน์และพลังงานภายในของระบบอนุภาค
10 บทที่ 10 การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
10.1 การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
10.2 โมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุเกร็ง
10.3 การคำนวณโมเมนต์ของความเฉื่อย
10.4 พลังงานจลน์ของการหมุน
10.5 ทอร์กและการอนุรักษ์ของโมเมนตัมเชิงมุม
10 10.6 งานและกำลังในการหมุน
10.7 การหมุนแบบควงหรือส่าย
10.8 กรอบอ้างอิงที่หมุนอย่างสม่ำเสมอ
10.9 แรงโคริโอลิส และแรงหนีศูนย์กลาง
11 บทที่ 11 การแกว่ง
11.1 การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
11.2 แรงและพลังงานในการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
11.3 ตัวอย่างการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
11.4 การซ้อนกันของการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
สองอัน
11.5 การแกว่งที่ถูกหน่วง
11.6 การแกว่งที่ถูกแรงบังคับและอภินาท
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 5 : การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก
12 บทที่ 12 คลื่นกลในตัวกลางยืดหยุ่น
12.1 ความยืดหยุ่น
12.2 คลื่นในตัวกลางยืดหยุ่น
12.3 สมการของคลื่นเคลื่อนที่
12.4 อัตราเร็วของคลื่นยืดหยุ่น
12.5 คลื่นสถิต
12.6 โมดูเลชันและบีตส์
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 6 : คลื่นกล
13 บทที่ 13 เสียง 13.1 สมการคลื่นเสียง
13.2 ความเข้มของเสียง
13.3 ระดับความดันเสียงและระดับความเข้มเสียง
13.4 หูและกลไกของการได้ยิน
13.5 ปรากฏการณ์ดอปเปลอร์
13.6 คลื่นกระแทก
13.7 สเปกตรัมของเสียง
สาธิต / นศ.ร่วมอภิปราย ปฏิบัติการที่ 7 : ความเร็วเสียงในอากาศ
14 บทที่ 14 ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
14.1 ก๊าซอุดมคติ
14.2 ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของก๊าซอุดมคติ
14.3 การแปลความหมายของอุณหภูมิในทางจลนศาสตร์
14.4 การแบ่งเท่ากันของพลังงาน
14.5 ก๊าซจริงและก๊าซอุดมคติ
14.6 การแจกแจงความเร็วของโมเลกุล
15 อุณหพลศาสตร์
15.1 พลังงานภายใน
15.2 กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
15.3 งานในการเปลี่ยนปริมาตรของก๊าซ
15.4 กระบวนการปริมาตรคงที่และความร้อนจำเพาะของก๊าซ
15.5 กระบวนการความดันคงที่
15.6 กระบวนการอุณหภูมิคงที่
15.7 กระบวนการความร้อนคงที่
15.8 สรุปกระบวนการเปลี่ยนแปลงของก๊าซอุดมคติ
15.9 การเปลี่ยนความร้อนเป็นงาน
15.10 เครื่องยนต์เบนซิน
15.11 เครื่องยนต์ดีเซล
15.12 เครื่องยนต์ไอน้ำ
15.13 ตู้เย็น
15.14 วัฏจักรคาร์โนท์
15.15 กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์
15.16 เอนโทรปี
15.17 เอนโทรปีกับกฎข้อสองของอุณหพลศาสตร์
สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 16 วันที่ เดือน พ.ศ.


วิธีสอน
3. บรรยายสรุป ซักถาม ทำแบบฝึกหัด
4. สาธิตปรากฏการณ์ต่างๆ ทางฟิสิกส์
5. ทำปฏิบัติการกลุ่ม และสรุปผล
6. ค้นศึกษาอ่านเอกสารอ้างอิง
การประเมินผล
5. ทดสอบปากเปล่า 15 %
6. ทดสอบย่อย 15 %
7. สอบกลางภาค 30 %
8. สอบปลายภาค 40 %
การวัดผล
มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 80 % จึงมีสิทธิ์สอบปลายภาค
ถ้าขาดสอบกลางภาคและ/หรือปลายภาคจะได้ผลการเรียนเป็น E
เมื่อรวมคะแนนทั้งหมดได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ได้ผลการเรียน E
40 - 45 ได้ผลการเรียน D
46 – 50 ได้ผลการเรียน D+
51 – 64 ได้ผลการเรียน C
65 – 69 ได้ผลการเรียน C+
70 – 74 ได้ผลการเรียน B
75 – 79 ได้ผลการเรียน B+
80 – 100 ได้ผลการเรียน A
เอกสารหลักและค้นคว้าเพิ่มเติม
ภาควิชาฟิสิกส์, ฟิสิกส์ 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ กรุงเทพ, 2524.
ภาควิชาฟิสิกส์, คู่มือปฏิบัติการฟิสิกส์ เล่ม 1 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีอุบลราชธานี 2534.
ทบวงมหาวิทยาลัย, ฟิสิกส์ เล่ม 1 สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชัน. กรุงเทพ,
นิกร สุขปรุง ฟิสิกส์ 1 ( ฟิสิกส์ 1 สถาบันราชภัฏ ) ภาควิชาฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันราชภัฏสกนคร สกลนคร 2539.
Hudson, alvin. And Rex, Nelson. University Physics. 1nd.ed. Newyork : Saunders College Publishing, 1990.

โครงการสอน ( Course Syllabus )
สมุทรศาสตร์
รหัสวิชา ชื่อวิชา น(ท-ป)
4052201 สมุทรศาสตร์ (Oceanography) 2(1-2)

คำอธิบายรายวิชา
ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของทะเล และมหาสมุทร สมบัติทางกายภาพทางเคมีของน้ำทะเล สิ่งที่มีชีวิตในมหาสมุทร นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติในมหาสมุทร

วัตถุประสงค์ทั่วไป
เมื่อศึกษาแล้วนักศึกษาจะสามารถ
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของทะเลและมหาสมุทร
2. สามารถอธิบายสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของน้ำทะเลได้
3. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทร
4. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบนิเวศวิทยาทางสมุทรศาสตร์
5. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติในมหาสมุทร
6. มีความเข้าใจและตระหนักถึงประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาติในทะเลและมหาสมุทรที่มีต่อมนุษย์

กำหนดการสอน

สัปดาห์ที่ เรื่อง วิธีเรียนวิธีสอน
1 แนะนำบทเรียนทั้งหมด
บทที่ 1 ประวัติและการสำรวจทางทะเล
- กำเนิดของมหาสมุทร น้ำทะเลและสิ่งมีชีวิต
- ความสำคัญของทะเลและมหาสมุทร - บรรยาย
- ชมวีดีทัศน์
- ทำงานกลุ่มเพื่อเขียนลักษณะทางทะเลและมหาสมุทร
2 บทที่ 2 ภูมิประเทศท้องมหาสมุทร
1) ลักษณะทั่วไปของมหาสมุทร
2) ไหลทวีป ลาดทวีป และเนินทวีป
3) พื้นแอ่งมหาสมุทร
4) การวัดความลึกของมหาสมุทร - ชมวีดีทัศน์
- บรรยาย
- ฝึกปฏิบัติ
3 บทที่ 3 สมุทรศาสตร์เคมีและฟิสิกส์
1) คุณสมบัติบางประการของน้ำทะเล
2) องค์ประกอบของน้ำทะเล
3) ปริมาณความเค็มของน้ำทะเล -ทดลอง
-ปฏิบัติงานกลุ่ม
-ศึกษาจากซีดีรอม
4 4) อุณหภูมิของน้ำทะเลและการตรวจวัด
5) ความหนาแน่นและความกดดันของน้ำทะเลและความโปร่งแสงของน้ำ
6) เสียงในทะเล -ทดลองปฏิบัติงานกลุ่ม
-อภิปราย
-ศึกษาจากซีดีรอม
5 ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 -ภาคทฤษฎี
-ปฏิบัติ
6 บทที่ 4 กระแสน้ำและคลื่น
1) กระแสน้ำและการหมุนเวียนของน้ำ
2) คลื่น
3) น้ำขึ้น น้ำลง -บรรยาย
-ชมวีดีทัศน์
7
บทที่ 5 กระบวนการชายฝั่งและตะกอน
1) ลักษณะต่างๆของชายฝั่ง
2) ตะกอนบนพื้นทะเล
บทที่ 6 สิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมทางทะเล
1) การแบ่งเขตต่างๆในทะเล -ทดลอง
-บรรยาย
8
2) สิ่งมีชีวิตในทะเล
3) ระบบนิเวศวิทยาในทะเล
4) ผลผลิตชีวภาพในทะเล - ชมวีดีทัศน์
- อภิปรายกลุ่มย่อย
- ศึกษาจากซีดีรอม
บทที่ 7 ทรัพยากรจากทะเลและมหาสมุทร
1) อาหารจากทะเล
2) แร่ธาตุจากทะเล
3) น้ำมันและก๊าซธรรมชาติในทะเล
4) น้ำและพลังงานจากทะเล
5) กฎหมายทางทะเล
10 ทดสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 - ภาคทฤษฎี
- ปฏิบัติ
11 บทที่ 8 การอนุรักษ์และเพิ่มผลผลิตทางทะเล
1) มลพิษในทะเล
2) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางทะเล
3) การเพิ่มผลผลิตทางทะเล - บรรยาย
- ชมวีดีทัศน์
- เขียนโครงการ
12 บทที่ 9 ประเทศไทยกับทรัพยากรทางทะเล
1) การใช้ทรัพยากรทางทะเลของไทย
2) ผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรทางทะเลของไทย - อภิปรายกลุ่มย่อย
- สืบค้นด้วยตนเอง
13 – 15 ศึกษาจากสถานที่และเข้าค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลภาคตะวันออก ปฏิบัติ
16 สอบปลายภาค ภาคทฤษฎี

สื่อการเรียนการสอน
1. สถานที่จริง
2. วีดีทัศน์
3. แผ่นใส
4. ซีดีรอม
5. จิกซอสิ่งมีชีวิตในทะเล
วัดผล
1. ใช้วิธีการสังเกตและบันทึกผลไว้เป็นระยะ
- สังเกตจากงานที่กำหนดให้ทำในชั้นเรียน
- สังเกตจากการร่วมอภิปราย ซักถาม
- สังเกตจากการตอบคำถาม
- สังเกตการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริง
2. ใช้วิธีตรวจผลงานต่างๆ ภาคปฏิบัติ
3. ใช้วิธีทดสอบข้อเขียน
- ทดสอบระหว่างภาค 2 ครั้ง
- ทดสอบปรายภาค 1 ครั้ง

เกณฑ์การวัดผล
1. จากการวัดโดยการสังเกต 20 คะแนน
2. จากผลงาน 20 คะแนน
3. จากการทดสอบระหว่างภาค 20 คะแนน
4. จากการทดสอบปลายภาค 40 คะแนน

เกณฑ์การประเมิน ประเมินผลแบบอิงเกณฑ์
A คะแนน ร้อยละ 80 – 100
B+ คะแนน ร้อยละ 75 – 79
B คะแนน ร้อยละ 70 – 74
C+ คะแนน ร้อยละ 65 – 69
C คะแนน ร้อยละ 60 – 64
D+ คะแนน ร้อยละ 55 – 59
D คะแนน ร้อยละ 50 – 54
E คะแนน ร้อยละ 0 – 49

เอกสารอ่านเพิ่มเติม
1. ประพันธ์ เตละกุล. สมุทรศาสตร์. วิทยาลัยครูมหาสารคาม,2533.
2. อัปสรสุดา ศิริพงศ์. สมุทรศาสตร์ฟิสิกส์และธรณี.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2527.
3. มนุวดี หังสพฤกษ์. สมุทรศาสตร์เคมี.พิมพ์ครั้งที่ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2529.



Create Date : 05 กุมภาพันธ์ 2554
Last Update : 5 กุมภาพันธ์ 2554 14:20:45 น. 0 comments
Counter : 2352 Pageviews.

ชื่อ :
Comment :
  *ใช้ code html ตกแต่งข้อความได้เฉพาะสมาชิก
 

hangclub
Location :


[Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 29 คน [?]




Friends' blogs
[Add hangclub's blog to your web]
Links
 
MY VIP Friend


 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.