" เรื่องราวต่างๆเป็นดั่งทองคำในเทพนิยาย เมื่อคุณแจกจ่ายไปมากขึ้น คุณก็ได้รับกลับมามากขึ้น " พอลลี แมคไกวร์
Group Blog
 
 
เมษายน 2560
 1
2345678
9101112131415
16171819202122
23242526272829
30 
 
26 เมษายน 2560
 
All Blogs
 
10.04.2560 วัดเชียงทอง (ວັດຊຽງທອງ) ถนน.โพธิสารราช หลวงพระบาง สปป.ลาว.





(บันทึกการเดินทาง) ได้มาเยือน วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ)
วัดเซียงทอง เป็นวัดในแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2103 สร้างโดยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำโขง เป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมแบบล้านช้างที่สวยงามมาก.

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สิมวัดเชียงทอง หรือวิหารวัดเชียงทอง ได้รับอิทธิพลมาจากวิหารวัดโลกโมฬี จังหวัดเชียงใหม่ โดยในปีพ.ศ. 2042 ราชวงศ์มังรายแห่งอาณาจักรล้านนาเกิดว่างกษัตริย์ พระนางจิระประภามหาเทวีผู้เป็นพระอัครมเหสีในพระเมืองเกษเกล้า ได้ขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์หญิงเพียง1ปี บ้านเมืองก็เกิดระส่ำระส่าย ถูกอาณาจักรรอบข้างรุกราน และในยุคที่บุเรงนองเป็นผู้ชนะ10ทิศ พระนางจิระประภาจึงเชื่อมสัมพันธ์กับอาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรล้านช้างให้แน่นแฟ้น แต่พระองค์ครองราชย์ได้เพียง1ปีจึงสละราชบัลลังก์ และทูลเชิญพระไชยเชษฐาจากเมืองหลวงพระบางแห่งอาณาจักรล้านช้างลงมาปกครองแทน เนื่องจากพระนางยอดคำทิพย์พระอัครมเหสีในพระเจ้าโพธิสารราชแห่งอาณาจักรล้านช้าง หรือผู้เป็นแม่ของพระไชยเชษฐา พระราชธิดาของพระนางจิระประภา จึงเห็นว่าหลานชายของตนมีสายเลือดล้านนา จึงให้มาปกครองเชียงใหม่ แต่พระไชยเชษฐาปกครองได้เพียง1ปี พระราชบิดาเกิดสวรรคตกระทันหัน พระไชยเชษฐาจึงต้องกลับไปเถลิงราชสมบัติครองราชย์ล้านนา พระองค์จึงอัญเชิญพระแก้วมรกตกับพระพุทธสิหิงค์จากเชียงใหม่กลับไปหลวงพระบางด้วย หลังจากนั้นพระองค์ก็เริ่มสร้างวัดเชียงทองขึ้นในใจกลางกรุงหลวงพระบาง
หลังจากนั้นเพียงไม่นาน ทั้งอาณาจักรล้านนา อาณาจักรล้านช้าง และอาณาจักรอยุธยา ต่างก็ตกเป็นเมืองขึ้นของหงสาวดี พระไชยเชษฐาทรงย้ายเมืองหลวงหนีลงไปสร้างนครหลวงเวียงจันทน์เป็นราชธานีแห่งใหม่ เมืองหลวงพระบางจึงปล่อยทิ้งร้างและหมดบทบาทลง พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญลงมานครหลวงเวียงจันทน์ด้วย ส่วนพระพุทธสิหิงค์ทรงคืนให้กลับเชียงใหม่
ในปี พ.ศ. 2250 อาณาจักรล้านช้างแตกเป็น3ฝ่าย คืออาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง, อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์, และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ เมืองหลวงพระบางจึงกลับมามีอำนาจอีกครั้ง ไม่ขึ้นตรงต่ออาณาจักรลาวเวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ และได้มีการซ่อมแซมวัดเชียงทองเรื่อยมาทุกๆรัชกาล จึงเกิดลวดลายที่มีเอกลักษณ์ต่างจากนครเวียงจันทน์และจำปาศักดิ์ วัดเชียงทองจึงถึงถือเป็นวัดประจำราชวงศ์ลาวงหลวงพระบาง และเป็นสุดยอดแห่งสถาปัตยกรรมลาวล้านช้าง มีลวดลายที่วิจิตรตระการตา.

10 เมษยน พ.ศ.2560
10.04.2017



 01.ได้มาเยือน วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.



 02.วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.



 03.วัดเชียงทอง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมืองหลวงพระบาง ใกล้บริเวณที่แม่น้ำคานไหลมาบรรจบกับแม่น้ำโขง มีถนนเล็กๆชื่อถนนโพธิสารราช ริมน้ำโขงคั่นอยู่ วัดเชียงทองสร้างขึ้นก่อนหน้าที่พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชจะย้ายเมืองหลวงไปยังนครเวียงจันทน์ไม่นานนัก และยังได้รับการอุปถัมภ์จากเจ้ามหาชาติศรีสว่างวงศ์ และเจ้ามหาชาติศรีสว่างวัฒนา กษัตริย์สองพระองค์สุดท้ายของประเทศลาว 



 04.สิมวัดเชียงทอง หรือวิหารวัดเชียงทอง ได้รับอิทธิพลมาจากวิหารวัดโลกโมฬี จังหวัดเชียงใหม่


 05.พระอุโบสถ ภาษาลาวเรียกว่า สิม เป็นพระอุโบสถหลังไม่ใหญ่โตมากนักหลังคาพระอุโบสถมีหลังคาแอ่นโค้ง ลาดต่ำลงมาซ้อนกันอยู่สามชั้น กล่าวกันว่านี่คือศิลปะแห่งหลวงพระบาง ส่วนกลางของหลังคามีเครื่องยอดสีทองชาวลาวเรียกว่าช่อฟ้า ประกอบด้วย 17 ช่อเป็นข้อสังเกตุว่าวัดที่พระมหากษัตริย์สร้าง จะมีช่อฟ้า 17 ช่อ ส่วนคนสามัญสร้างจะมีช่อฟ้า 1- 7 ช่อเท่านั้น เชื่อว่าบริเวณช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆตรงกลางช่อฟ้าจะมีของมีค่าบรรจุอยู่ ส่วนที่ประดับที่ยอดหน้าบันชาวลาวเรียกว่าโหง่ มีรูปร่างเป็นเศียรนาคและมีความสัมพันธ์เกี่ยวกับศาสนาพุทธ ประตูพระอุโบสถแกะสลักสวยงามเช่นเดียวกับหน้าต่างภายในพระอุโบสถมีภาพสวยงามที่ผนัง มีลักษณะลวดลายปิดทองฉลุบนพื้นรักสีดำ ส่วนใหญ่เป็นภาพพุทธประวัติเรื่องพระสุธน – มโนราห์ และเรื่องพระเจ้าสิบชาติ


 06.


 07.


 08.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 09.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 10.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 11.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 12.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 13.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 14.พระประธาน หรือ ชาวลาวเรียกว่า "พระองค์หลวง"  แห่ง วัดเชียงทอง (ลาว: ວັດຊຽງທອງ) หลวงพระบาง สปป.ลาว.


 15.


 16.


 17.


 18.


 19.


 20.


 21.


 22.


 23.ผนังด้านหลังของพระอุโบสถเป็นภาพที่เกิดจากการใช้กระจกสีตัด ติดต่อกันเป็นรูปต้นทองขนาดใหญ่ ซึ่งเคยมีในเมืองหลวงพระบางลักษณะคล้ายต้นโพธิ์


 24.


 25.


 26.


 27.


 28.


 29.


 30.


 31.


 32.


 33.


 34.


 35.


 36.


 37.


 38.


 39.


 40.


 41. ผนังด้านหลังของพระอุโบสถเป็นภาพที่เกิดจากการใช้กระจกสีตัด ติดต่อกันเป็นรูปต้นทองขนาดใหญ่ ซึ่งเคยมีในเมืองหลวงพระบางลักษณะคล้ายต้นโพธิ์



42.ผนังด้านหลังของพระอุโบสถเป็นภาพที่เกิดจากการใช้กระจกสีตัด ติดต่อกันเป็นรูปต้นทองขนาดใหญ่ ซึ่งเคยมีในเมืองหลวงพระบางลักษณะคล้ายต้นโพธิ์


 43.ผนังด้านหลังของพระอุโบสถเป็นภาพที่เกิดจากการใช้กระจกสีตัด ติดต่อกันเป็นรูปต้นทองขนาดใหญ่ ซึ่งเคยมีในเมืองหลวงพระบางลักษณะคล้ายต้นโพธิ์


 44.


 45.


 46.


 47.


 48.


 49.


 50.


 51.


 52.


 53.


 54.


 55.


 56.


 57.


 58.


 59.


 60.


 61.


 62.


 63.


 64.


 65.


 66.


 67.


 68.


 69.


 70.


 71.


 72.


 73.


 74.ราชรถไม้แกะสลักปิดทองคำเปลวรอบคัน มีพระโกศสามองค์ตรงกลางเป็นองค์ใหญ่ของเจ้าสว่างศรีวัฒนา ด้านหลังเป็นของพระราชมารดา ส่วนด้านหน้าเป็นของพระเจ้าอา


 75.


 76.


 77.


 78.


 79.


 80.


 81.ราชรถไม้แกะสลักปิดทองคำเปลวรอบคัน มีพระโกศสามองค์ตรงกลางเป็นองค์ใหญ่ของเจ้าสว่างศรีวัฒนา ด้านหลังเป็นของพระราชมารดา ส่วนด้านหน้าเป็นของพระเจ้าอา


 82.ราชรถไม้แกะสลักปิดทองคำเปลวรอบคัน มีพระโกศสามองค์ตรงกลางเป็นองค์ใหญ่ของเจ้าสว่างศรีวัฒนา ด้านหลังเป็นของพระราชมารดา ส่วนด้านหน้าเป็นของพระเจ้าอา


 83.ราชรถไม้แกะสลักปิดทองคำเปลวรอบคัน มีพระโกศสามองค์ตรงกลางเป็นองค์ใหญ่ของเจ้าสว่างศรีวัฒนา ด้านหลังเป็นของพระราชมารดา ส่วนด้านหน้าเป็นของพระเจ้าอา


 84.ราชรถไม้แกะสลักปิดทองคำเปลวรอบคัน มีพระโกศสามองค์ตรงกลางเป็นองค์ใหญ่ของเจ้าสว่างศรีวัฒนา ด้านหลังเป็นของพระราชมารดา ส่วนด้านหน้าเป็นของพระเจ้าอา


 85. โรงเมี้ยนโกศ หรือโรงเก็บราชรถพระโกศของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2505 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวัด ลักษณะเป็นโถงกว้าง ผนังด้านหน้าตั้งแต่หน้าบันลงมาจนถึงพื้นสามารถถอดออกได้เพื่อให้สามารถเคลื่อนราชรถออกมาได้


กลางโรงเมี้ยนโกศเป็นที่ตั้งราชรถไม้แกะสลักปิดทองคำเปลวรอบคัน มีพระโกศสามองค์ตรงกลางเป็นองค์ใหญ่ของเจ้าสว่างศรีวัฒนา ด้านหลังเป็นของพระราชมารดา ส่วนด้านหน้าเป็นของพระเจ้าอา โรงเก็บราชรถนี้ออกแบบโดยเจ้ามณีวงศ์ และใช้ช่างชาวหลวงพระบางชื่อ เพียตัน นับว่าเป็นช่างฝีมือดีประจำพระองค์ มีความชำนาญทั้งด้านงานเขียนและงานแกะสลัก

 86.โรงเมี้ยนโกศ หรือโรงเก็บราชรถพระโกศของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2505


 87.โรงเมี้ยนโกศ หรือโรงเก็บราชรถพระโกศของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2505


 88.โรงเมี้ยนโกศ หรือโรงเก็บราชรถพระโกศของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา สร้างขึ้นในปีพ.ศ. 2505


 89.


 90.


 91.


 92.


 93.


 94.ส่วนวิหารอีกหลังที่อยู่ด้านหลังพระอุโบสถคือ วิหารพระม่านภายในวิหารนี้ประดิษฐาน พระม่าน ในช่วงวันขึ้นปีใหม่จะมีการอันเชิญมาให้ประชาชนสรงน้ำและกราบไหว้เป็นประจำทุกปี ผนังด้านหลังวิหารทาด้วยสีชมพูประดับด้วยกระจกสีแสดงถึงวิถีชีวิตของผู้คน สร้างขึ้นใน พ.ศ.2493 เพื่อเฉลิมฉลองที่โลกก้าวสู่ยุคกึ่งพระพุทธกาล


 95. พระม่าน


 96.


 97.วิหารน้อย ด้านข้างของพระอุโบสถ ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระพุทธรูปนี้เคยถูกนำไปจักแสดงที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2474 และนำไปประดิษฐานที่นครเวียงจันทน์หลายสิบปี ก่อนจะนำมายังหลวงพระบางในปี พ.ศ.2507


 98.วิหารน้อย ด้านข้างของพระอุโบสถ



 99.วิหารน้อย ด้านข้างของพระอุโบสถ ภายในวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระพุทธรูปนี้เคยถูกนำไปจักแสดงที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2474 และนำไปประดิษฐานที่นครเวียงจันทน์หลายสิบปี ก่อนจะนำมายังหลวงพระบางในปี พ.ศ.2507


 100.พระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระพุทธรูปนี้เคยถูกนำไปจักแสดงที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2474 และนำไปประดิษฐานที่นครเวียงจันทน์หลายสิบปี ก่อนจะนำมายังหลวงพระบางในปี พ.ศ.2507


 101.พระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระพุทธรูปนี้เคยถูกนำไปจักแสดงที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2474 และนำไปประดิษฐานที่นครเวียงจันทน์หลายสิบปี ก่อนจะนำมายังหลวงพระบางในปี พ.ศ.2507


 102.พระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระพุทธรูปนี้เคยถูกนำไปจักแสดงที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2474 และนำไปประดิษฐานที่นครเวียงจันทน์หลายสิบปี ก่อนจะนำมายังหลวงพระบางในปี พ.ศ.2507


 103.พระพุทธรูปปางไสยาสน์ พระพุทธรูปนี้เคยถูกนำไปจักแสดงที่กรุงปารีส ในปี พ.ศ. 2474 และนำไปประดิษฐานที่นครเวียงจันทน์หลายสิบปี ก่อนจะนำมายังหลวงพระบางในปี พ.ศ.2507


 104.วิหารน้อย ด้านข้างของพระอุโบสถ


 105.จุดเด่นของวิหารนี้คือผนังด้านนอกมีการตกแต่งด้วยกระจกสี ตัดเป็นชิ้นเล็กๆและนำมาต่อเป็นรูปต่างๆเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้าน บนพื้นสีชมพู



 106.จุดเด่นของวิหารนี้คือผนังด้านนอกมีการตกแต่งด้วยกระจกสี ตัดเป็นชิ้นเล็กๆและนำมาต่อเป็นรูปต่างๆเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับนิทานพื้นบ้าน บนพื้นสีชมพู


 107.


 108.


 109.


 110.


 111.


 112.


 113.


 114.


 115.


 116.


 117.


 118.


 119.


 120.


 121.ด้านหลังของวิหารพระม่านจะเป็นพระธาตุศรีสว่างวงศ์ ซึ่งเป็นที่เก็บอัฐิของเจ้ามหาศรีสว่างวงศ์



 122.


 123.


 124.


 125.


 126.


 127.


 128.


 129.


 130.


 131.


 132.


 133. บัตรเข้าชมวัดเชียงทอง ราคา 20,000 กีบ.



 134.


 135.


136.


ขอบคุณข้อมูลจาก จาก //www.oceansmile.com/Lao/ChaingtongWat.htm


10 เมษายน พ.ศ.2560

10.04.2017


Moonfleet Chiangmai.




Create Date : 26 เมษายน 2560
Last Update : 29 เมษายน 2560 0:34:06 น. 1 comments
Counter : 4776 Pageviews.

 
Wat Xieng Thong, Luang Prabang, Laos

Wat Xieng Thong (built c. 1560 onward)

Wat Xieng Thong (Xieng Thong Ratsavoravihanh, or Volavihan, the "Golden City or Golden Tree Monastery") is the most historically significant and impressive of Luang Prabang's many wats. The low sweeping double-tiered roof (the front portico actually forms a third tier) and the rich interior and exterior decoration of its sim create an exceptionally fine example of the classic Luang Prabang style. The various chapels and other buildings make the entire monastery complex an architectural gem.

Xieng Thong is situated on an embankment above the Mekong near the juncture with the Nam Khan River and often served as the gateway to the town. Visitors from Siam, which long controlled the region, would end their journey at Ban Xieng Mene on the right bank and be ferried across to the city at the river entry of the monastery. This was also the entry point for the king-designate on the eve of his coronation after his three days of prayer and meditation at Wat Long Khun . It was the site of coronation of Lao kings and also the center of numerous annual festivals honoring the Buddha and various folk spirits.

An early legend about the origin of Xieng Thong suggests that two hermits settled on a site (and set the boundary stones of the town and the monastery) near a notable mai thong, or flame-of the-forest tree (the tree is depicted on the rear facade of the sim). The sites were also near the home of two of the city's powerful nagas that lived at the juncture of the two rivers.

The monastery had its origins in the 16th century. King Setthathilat, or Sai Xetthathilat, (1548-1571) founded it in 1560 to commemorate the memory of the Chanthaphanith (8th century AD?), a betal merchant and the legendary first king of Luang Prabang. The sim was built at this time, as doubtless were the kuti, or monks' quarters. A number of gold on black stencils inside the sim recount the story of Chanthaphanith and Jataka stories from Buddhist cosmology. Setthathilat's direct association with the monastery was not long, however. Shortly after he founded it, he moved his capital to Vientiane (Viang Chan); the exact date of this move is uncertain.

From its beginning until 1975, when the monarchy was terminated, Xieng Thong was under royal patronage. The king, his family, and others, built, embellished and maintained its many structures. It is impossible to know its original form, since doubtless there were numerous changes to the original buildings through the centuries. Fortunately it was spared destruction during the Chinese Black Flag maurader invasion of the city in 1887, when part of the city and many of its monasteries were damaged or destroyed. The leader of the invaders, Deo Van Tri (Kham Oun in Laotian), was in his youth a novice monk at the wat and used it as his headquarters.

A number of restorations have taken place in the twentieth century, included a notable one in whch the French participated. In 1928, when the French Governor General visited Luang Prabang, the King Sisavangvong successfully demanded that the French share in the cost of restoration. Major projects took place in the 1950s and 1960s, when the funerary carriage house was built, and especially in more recent times to repair the damage brought by years of neglect because of wars and neglect. As Luang Prabang has become more accessible to outside world it has become a major attraction for tourist and pilgrims alike. The seasonal changes in temperature and moisture necessitate continual maintenance and refurbishment.

Wat Xieng Thong is one of the most important of Lao monasteries and remains a significant monument to the spirit of religion, royalty and traditional style of a fascinating city. There are over twenty structures on the grounds including shrines, pavilions and residences, in addition to its gardens of various flowers, ornamental shrubs and trees. Many of the structures are notable, in addition to the magnificent sim, several deserve special attention.

Text by Robert D. Fiala, Concordia University, Nebraska, USA
Location

The approximate location of the site is 19.897539' N, 102.143059' E (WGS 84 map datum).

ขอบคุณข้อมูลจาก //www.orientalarchitecture.com/sid/454/laos/luang-prabang/wat-xieng-thong


โดย: Wat Xieng Thong, Luang Prabang, Laos (moonfleet ) วันที่: 7 พฤษภาคม 2560 เวลา:8:26:01 น.  

ชื่อ : * blog นี้ comment ได้เฉพาะสมาชิก
Comment :
  *ส่วน comment ไม่สามารถใช้ javascript และ style sheet
 

moonfleet
Location :
เชียงใหม่ Thailand

[ดู Profile ทั้งหมด]

ฝากข้อความหลังไมค์
Rss Feed
Smember
ผู้ติดตามบล็อก : 25 คน [?]




ไม่มีสิ่งใดจะเกิดขึ้นมาได้ หากไม่เคยเป็นความฝันมาก่อน
New Comments
Friends' blogs
[Add moonfleet's blog to your web]
Links
 

 Pantip.com | PantipMarket.com | Pantown.com | © 2004 BlogGang.com allrights reserved.